สมัครสมาชิก   
| |
ค้นหาข้อมูล
ค้นหาแบบละเอียด
  •   ความเป็นมาและหลักเหตุผล

    เพื่อรวบรวมงานวิจัยทางชาติพันธุ์ที่มีคุณภาพมาสกัดสาระสำคัญในเชิงมานุษยวิทยาและเผยแผ่สาระงานวิจัยแก่นักวิชาการ นักศึกษานักเรียนและผู้สนใจให้เข้าถึงงานวิจัยทางชาติพันธุ์ได้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น

  •   ฐานข้อมูลจำแนกกลุ่มชาติพันธุ์ตามชื่อเรียกที่คนในใช้เรียกตนเอง ด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้ คือ

    1. ชื่อเรียกที่ “คนอื่น” ใช้มักเป็นชื่อที่มีนัยในทางเหยียดหยาม ทำให้สมาชิกกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ รู้สึกไม่ดี อยากจะใช้ชื่อที่เรียกตนเองมากกว่า ซึ่งคณะทำงานมองว่าน่าจะเป็น “สิทธิพื้นฐาน” ของการเป็นมนุษย์

    2. ชื่อเรียกชาติพันธุ์ของตนเองมีความชัดเจนว่าหมายถึงใคร มีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมอย่างไร และตั้งถิ่นฐานอยู่แห่งใดมากกว่าชื่อที่คนอื่นเรียก ซึ่งมักจะมีความหมายเลื่อนลอย ไม่แน่ชัดว่าหมายถึงใคร 

     

    ภาพ-เยาวชนปกาเกอะญอ บ้านมอวาคี จ.เชียงใหม่

  •  

    จากการรวบรวมงานวิจัยในฐานข้อมูลและหลักการจำแนกชื่อเรียกชาติพันธุ์ที่คนในใช้เรียกตนเอง พบว่า ประเทศไทยมีกลุ่มชาติพันธุ์มากกว่า 62 กลุ่ม


    ภาพ-สุภาษิตปกาเกอะญอ
  •   การจำแนกกลุ่มชนมีลักษณะพิเศษกว่าการจำแนกสรรพสิ่งอื่นๆ

    เพราะกลุ่มชนต่างๆ มีความรู้สึกนึกคิดและภาษาที่จะแสดงออกมาได้ว่า “คิดหรือรู้สึกว่าตัวเองเป็นใคร” ซึ่งการจำแนกตนเองนี้ อาจแตกต่างไปจากที่คนนอกจำแนกให้ ในการศึกษาเรื่องนี้นักมานุษยวิทยาจึงต้องเพิ่มมุมมองเรื่องจิตสำนึกและชื่อเรียกตัวเองของคนในกลุ่มชาติพันธุ์ 

    ภาพ-สลากย้อม งานบุญของยอง จ.ลำพูน
  •   มโนทัศน์ความหมายกลุ่มชาติพันธุ์มีการเปลี่ยนแปลงในช่วงเวลาต่างๆ กัน

    ในช่วงทศวรรษของ 2490-2510 ในสาขาวิชามานุษยวิทยา “กลุ่มชาติพันธุ์” คือ กลุ่มชนที่มีวัฒนธรรมเฉพาะแตกต่างจากกลุ่มชนอื่นๆ ซึ่งมักจะเป็นการกำหนดในเชิงวัตถุวิสัย โดยนักมานุษยวิทยาซึ่งสนใจในเรื่องมนุษย์และวัฒนธรรม

    แต่ความหมายของ “กลุ่มชาติพันธุ์” ในช่วงหลังทศวรรษ 
    2510 ได้เน้นไปที่จิตสำนึกในการจำแนกชาติพันธุ์บนพื้นฐานของความแตกต่างทางวัฒนธรรมโดยตัวสมาชิกชาติพันธุ์แต่ละกลุ่มเป็นสำคัญ... (อ่านเพิ่มใน เกี่ยวกับโครงการ/คู่มือการใช้)


    ภาพ-หาดราไวย์ จ.ภูเก็ต บ้านของอูรักลาโว้ย
  •   สนุก

    วิชาคอมพิวเตอร์ของนักเรียน
    ปกาเกอะญอ  อ. แม่ลาน้อย
    จ. แม่ฮ่องสอน


    ภาพโดย อาทิตย์    ทองดุศรี

  •   ข้าวไร่

    ผลิตผลจากไร่หมุนเวียน
    ของชาวโผล่ว (กะเหรี่ยงโปว์)   
    ต. ไล่โว่    อ.สังขละบุรี  
    จ. กาญจนบุรี

  •   ด้าย

    แม่บ้านปกาเกอะญอ
    เตรียมด้ายทอผ้า
    หินลาดใน  จ. เชียงราย

    ภาพโดย เพ็ญรุ่ง สุริยกานต์
  •   ถั่วเน่า

    อาหารและเครื่องปรุงหลัก
    ของคนไต(ไทใหญ่)
    จ.แม่ฮ่องสอน

     ภาพโดย เพ็ญรุ่ง สุริยกานต์
  •   ผู้หญิง

    โผล่ว(กะเหรี่ยงโปว์)
    บ้านไล่โว่ 
    อ.สังขละบุรี
    จ. กาญจนบุรี

    ภาพโดย ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ
  •   บุญ

    ประเพณีบุญข้าวใหม่
    ชาวโผล่ว    ต. ไล่โว่
    อ.สังขละบุรี  จ.กาญจนบุรี

    ภาพโดยศรยุทธ  เอี่ยมเอื้อยุทธ

  •   ปอยส่างลอง แม่ฮ่องสอน

    บรรพชาสามเณร
    งานบุญยิ่งใหญ่ของคนไต
    จ.แม่ฮ่องสอน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ปอยส่างลอง

    บรรพชาสามเณร
    งานบุญยิ่งใหญ่ของคนไต
    จ.แม่ฮ่องสอน

    ภาพโดย เบญจพล  วรรณถนอม
  •   อลอง

    จากพุทธประวัติ เจ้าชายสิทธัตถะ
    ทรงละทิ้งทรัพย์ศฤงคารเข้าสู่
    ร่มกาสาวพัสตร์เพื่อแสวงหา
    มรรคผลนิพพาน


    ภาพโดย  ดอกรัก  พยัคศรี

  •   สามเณร

    จากส่างลองสู่สามเณร
    บวชเรียนพระธรรมภาคฤดูร้อน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   พระพาราละแข่ง วัดหัวเวียง จ. แม่ฮ่องสอน

    หล่อจำลองจาก “พระมหามุนี” 
    ณ เมืองมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า
    ชาวแม่ฮ่องสอนถือว่าเป็นพระพุทธรูป
    คู่บ้านคู่เมืององค์หนึ่ง

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม

  •   เมตตา

    จิตรกรรมพุทธประวัติศิลปะไต
    วัดจองคำ-จองกลาง
    จ. แม่ฮ่องสอน
  •   วัดจองคำ-จองกลาง จ. แม่ฮ่องสอน


    เสมือนสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรม
    เมืองไตแม่ฮ่องสอน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ใส

    ม้งวัยเยาว์ ณ บ้านกิ่วกาญจน์
    ต. ริมโขง อ. เชียงของ
    จ. เชียงราย
  •   ยิ้ม

    แม้ชาวเลจะประสบปัญหาเรื่องที่อยู่อาศัย
    พื้นที่ทำประมง  แต่ด้วยความหวัง....
    ทำให้วันนี้ยังยิ้มได้

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ผสมผสาน

    อาภรณ์ผสานผสมระหว่างผ้าทอปกาเกอญอกับเสื้อยืดจากสังคมเมือง
    บ้านแม่ลาน้อย จ. แม่ฮ่องสอน
    ภาพโดย อาทิตย์ ทองดุศรี
  •   เกาะหลีเป๊ะ จ. สตูล

    แผนที่ในเกาะหลีเป๊ะ 
    ถิ่นเดิมของชาวเลที่ ณ วันนี้
    ถูกโอบล้อมด้วยรีสอร์ทการท่องเที่ยว
  •   ตะวันรุ่งที่ไล่โว่ จ. กาญจนบุรี

    ไล่โว่ หรือที่แปลเป็นภาษาไทยว่า ผาหินแดง เป็นชุมชนคนโผล่งที่แวดล้อมด้วยขุนเขาและผืนป่า 
    อาณาเขตของตำบลไล่โว่เป็นส่วนหนึ่งของป่าทุ่งใหญ่นเรศวรแถบอำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี 

    ภาพโดย ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ
  •   การแข่งขันยิงหน้าไม้ของอาข่า

    การแข่งขันยิงหน้าไม้ในเทศกาลโล้ชิงช้าของอาข่า ในวันที่ 13 กันยายน 2554 ที่บ้านสามแยกอีก้อ อ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย
 
  งานวิจัยชาติพันธุ์ในประเทศไทย    

 

รายชื่องานวิจัยด้านชาติพันธุ์ในฐานข้อมูล จำนวน 1377 รายการ

 

 

  Author Title Source Year
81. เภา บุญเยี่ยม ปะคำ: วิถีชีวิตและการดำรงอยู่ของคนเลี้ยงช้างภายใต้พลวัตการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปีที่ 23 ฉบับที่ 41 ม.ค.-เม.ย. (2558) หน้า 91-111 2558
82. Kaisa Niemi Changing Minds, Changing Hats Construction and Expression of Akeu Ethnic Identity in Thailand and Myanmar Niemi, kaisa, Changing Minds, Changing Hats Construction and Expression of Akeu Ethnic Identity in Thailand and Myanmar. University of Oulu, Master’s Thesis, 2014. 2557
83. Keyes, Charles Finding their Voice: Northeastern Villagers and the Thai State. Keyes, Charles. 2014. Finding their Voice: Northeastern Villagers and the Thai State. Chiang Mai: Silkworm Books. 2557
84. ดุสิตธร งามยิ่ง รำมอญ: การสร้างมาตรฐานการรำเพื่อสืบสานศิลปะการแสดงของชาวไทยรามัญ ดุสิตธร งามยิ่ง. (2557). รำมอญ: การสร้างมาตรฐานการรำเพื่อสืบสานศิลปะการแสดงของชาวไทยรามัญ. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (วัฒนธรรมศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 2557
85. ลลิตา จรัสกร สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นลาหู่และการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2557
86. พิสิฎฐ์ โคตรสุโพธิ์, สบทบ พาจรทิศ, สมศักดิ์ จันทร์น้อย, นัคเรศ ชนะดวงดี, สนั่น ธรรมธิ, เฉลิมเวศน์ อูปธรรม, วีระพงษ์ แสง-ชูโต, จรัส ปันธิ, วิโรจน์ อินทนนท์, ชนินทร์ เขียวสนุก, วิฑูรย์ เหลียวรุ่งเรือง, อุษณีย์ ธงไชย, ชาญณรงค์ ศรีสุวรรณ, วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์, ทวีศักดิ์ เกียรติวีระศักดิ์, เชาวลิต สัยเจริญ, สราวุธ รูปิน, สุวิภา จำปาวัลย์, ธิติพล กันตีวงศ์, มาณพ มานะแซม, ณรงค์ ศิขิรัมย์, ศรีเลา เกษพรหม, อุดม ชัยทอง, วสันต์ ปัญญาแก้ว, เกรียงศักดิ์ เชษฐพัฒนวนิช, ธิตินัดดา จินาจันทร์, ขวัญชีวัน บัวแดง, พรไพโรจน์ คงทวีศักดิ์, ประสิทธิ์ ลีปรีชา, อานันท์ กาญจนพันธ์ ล้านนาคดีศึกษา - 2557
87. อะมีมะ แซ่จู กระบวนการกลายเป็นสินค้าของหัตถกรรมฝีมือชาติพันธุ์ลีซู คณะสังคมศาสตร์ (สาขาวิชาชาติพันธุ์สัมพันธ์และการพัฒนา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2557
88. เรณู เหมือนจันทร์เชย ทุนวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนากลุ่มชาติพันธุ์ไทยทรงดำในจังหวัดนครปฐม หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร 2557
89. นฤมล อรุโณทัย, พลาเดช ณ ป้อมเพชร, อุษา โคตรศรีเพชร, กิ่งแก้ว บัวเพชร, จีระวรรณ์ บรรเทาทุกข์ ทักษะวัฒนธรรมชาวเล ร้อยเรื่องราวชาวเลมอแกน มอแกลน และอูรักลาโว้ย ผู้กล้าแห่งอันดามัน โครงการนำร่องอันดามันและหน่วยปฏิบัติการวิจัยชนพื้นเมืองและทางเลือกการพัฒนา, สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2557
90. เฉลิมชัย โชติสุทธิ์ ภูมิบุตรา : นโยบายเชื้อชาตินิยมในมาเลเซีย วารสารปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ ปีที่ 27 ฉบับที่ 1 เมษายน – กันยายน 2557 หน้า 78-97 2557
91. พิพัฒน์ กระแจะจันทร์ และคณะ จาก “มะนิ่ฮ ญัฮกุร” (ชาวญัฮกุร) สู่การเป็นมอญทวารวดี และกระบวนการคืนความรู้สู่ชุมชนบ้านไร่ วารสารอารยธรรมศึกษาโขง-สาละวิน ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 ม.ค.-มิ.ย. (2557) หน้า 77-87 2557
92. องอาจ อินทนิเวศ ภูมิปัญญาดนตรีของกลุ่มชาติพันธุ์ ไทเขิน ไทลื้อ และลาหู่ ในพื้นที่เทศบาลตำบลบ้านดู่ จังหวัดเชียงราย วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่. ปีที่ 6 ฉบับที่ 3 (ม.ค.-ก.พ.) 2557 หน้า 107-122 2557
93. ศุภชัย ถนอมพันธ์, ชินศักดิ์ ตัณฑิกุล แบบแผนและความสัมพันธ์ของเรือนพื้นถิ่นระหว่างกลุ่มคนไทย-อีสานและไทย-โคราช พื้นที่กรณีศึกษาตำบลบ้านค่าย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ วารสารหน้าจั่ว: ว่าด้วยสถาปัตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดล้อม ปีที่ 28 (2557) หน้า 237-264 2557
94. ประเสริฐ ตระการศุภกร ความหลากหลายพันธุ์พืช ไร่หมุนเวียนและผู้หญิง ความเป็นหนึ่งที่สืบทอดความคงอยู่ของความหลากหลายพันธุ์พืช ภายใต้โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมและไร่หมุนเวียน ประเสริฐ ตระการศุภกร. (2557). ความหลากหลายพันธุ์พืช ไร่หมุนเวียนและผู้หญิง ความเป็นหนึ่งที่สืบทอดความคงอยู่ของความหลากหลายพันธุ์พืช ภายใต้โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมและไร่หมุนเวียน. 2557
95. ปราชญ์กฤษฎ์โมกข์ คีรีกิจไพศาล, อัศวิน พิเชฐกุลสัมพันธ์, ประสงค์ สกลคีรี, ธงชัย พิเชฐกุลสัมพันธ์, ชัยรัตน์ อัศวพนาสัณฑ์, ศุภชัย เจริญวิวัฒน์กุล, พรชัย โปโชโร, วิเชียร คีรีภูวดล โครงการศึกษาวิจัยพิธีกรรมปวาเก่อญอ (กะเหรี่ยง) ในรอบปีกระบวนการผลิตพื้นที่ลุ่มน้ำแม่แปะตอนบน ปราชญ์กฤษฎ์โมกข์ คีรีกิจไพศาล และคณะ. (2557). โครงการศึกษาวิจัยพิธีกรรมปวาเก่อญอ (กะเหรี่ยง) ในรอบปีกระบวนการผลิตพื้นที่ลุ่มน้ำแม่แปะตอนบน. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. 2557
96. ยาโพ จะตีก๋อย, ปะกู จะตีก๋อย, ไพศาล พุทธพันธ์ การศึกษาภูมิปัญญามูเซอแดง บ้านหัวปาย ต.เวียงเหนือ อ.ปาย จ.แม่ฮ่องสอน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย , สำนักงานภาค 2556
97. Juelsgaard, Matthew Ryan Being Lahu in a Thai School : An Inquiry into Ethnicity, Nationalism, and Schooling A Dissertation Submitted to the Graduate Division of the University of Hawaii at Manoa in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree of Doctor of Philosophy in Education 2556
98. สุพัชฌาย์ ปาปะชะ การจัดการภูมิปัญญาท้องถิ่นชุมชนเผ่าญ้อขององค์การบริหารส่วนตำบลโคกสำราญ อำเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2556
99. Long, Mary, Long, Eugene and Waters, Tony Suicide among the Mla Bri Hunter-Gatherers of Northern Thailand Journal of the Siam Society (JSS), Vol. 101, 2013, pp.155-176. 2556
100. Grawbosky, Volker, and Appiradee Techasiriwan Tai Lue Identities in the Upper Mekong Valley: Glimpses from Mulberry Paper Manuscripts. Aseanie 31, juin 2013. 2556


 


 

ฐานข้อมูลอื่นๆของศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
  ฐานข้อมูลพิพิธภัณฑ์ในประเทศไทย
จารึกในประเทศไทย
จดหมายเหตุทางมานุษยวิทยา
แหล่งโบราณคดีที่สำคัญในประเทศไทย
หนังสือเก่าชาวสยาม
ข่าวมานุษยวิทยา
ICH Learning Resources
ฐานข้อมูลเอกสารโบราณภูมิภาคตะวันตกในประเทศไทย
ฐานข้อมูลประเพณีท้องถิ่นในประเทศไทย
ฐานข้อมูลสังคม - วัฒนธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เมนูหลักภายในเว็บไซต์
  หน้าหลัก
งานวิจัยชาติพันธุ์ในประเทศไทย
บทความชาติพันธุ์
ข่าวชาติพันธุ์
เครือข่ายชาติพันธุ์
เกี่ยวกับเรา
เมนูหลักภายในเว็บไซต์
  ข้อมูลโครงการ
ทีมงาน
ติดต่อเรา
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
ช่วยเหลือ
  กฏกติกาและมารยาท
แบบสอบถาม
คำถามที่พบบ่อย


ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) เลขที่ 20 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 10170 
Tel. +66 2 8809429 | Fax. +66 2 8809332 | E-mail. webmaster@sac.or.th 
สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2549    |   เงื่อนไขและข้อตกลง