สมัครสมาชิก   
| |
ค้นหาข้อมูล
ค้นหาแบบละเอียด
  •   ความเป็นมาและหลักเหตุผล

    เพื่อรวบรวมงานวิจัยทางชาติพันธุ์ที่มีคุณภาพมาสกัดสาระสำคัญในเชิงมานุษยวิทยาและเผยแผ่สาระงานวิจัยแก่นักวิชาการ นักศึกษานักเรียนและผู้สนใจให้เข้าถึงงานวิจัยทางชาติพันธุ์ได้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น

  •   ฐานข้อมูลจำแนกกลุ่มชาติพันธุ์ตามชื่อเรียกที่คนในใช้เรียกตนเอง ด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้ คือ

    1. ชื่อเรียกที่ “คนอื่น” ใช้มักเป็นชื่อที่มีนัยในทางเหยียดหยาม ทำให้สมาชิกกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ รู้สึกไม่ดี อยากจะใช้ชื่อที่เรียกตนเองมากกว่า ซึ่งคณะทำงานมองว่าน่าจะเป็น “สิทธิพื้นฐาน” ของการเป็นมนุษย์

    2. ชื่อเรียกชาติพันธุ์ของตนเองมีความชัดเจนว่าหมายถึงใคร มีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมอย่างไร และตั้งถิ่นฐานอยู่แห่งใดมากกว่าชื่อที่คนอื่นเรียก ซึ่งมักจะมีความหมายเลื่อนลอย ไม่แน่ชัดว่าหมายถึงใคร 

     

    ภาพ-เยาวชนปกาเกอะญอ บ้านมอวาคี จ.เชียงใหม่

  •  

    จากการรวบรวมงานวิจัยในฐานข้อมูลและหลักการจำแนกชื่อเรียกชาติพันธุ์ที่คนในใช้เรียกตนเอง พบว่า ประเทศไทยมีกลุ่มชาติพันธุ์มากกว่า 62 กลุ่ม


    ภาพ-สุภาษิตปกาเกอะญอ
  •   การจำแนกกลุ่มชนมีลักษณะพิเศษกว่าการจำแนกสรรพสิ่งอื่นๆ

    เพราะกลุ่มชนต่างๆ มีความรู้สึกนึกคิดและภาษาที่จะแสดงออกมาได้ว่า “คิดหรือรู้สึกว่าตัวเองเป็นใคร” ซึ่งการจำแนกตนเองนี้ อาจแตกต่างไปจากที่คนนอกจำแนกให้ ในการศึกษาเรื่องนี้นักมานุษยวิทยาจึงต้องเพิ่มมุมมองเรื่องจิตสำนึกและชื่อเรียกตัวเองของคนในกลุ่มชาติพันธุ์ 

    ภาพ-สลากย้อม งานบุญของยอง จ.ลำพูน
  •   มโนทัศน์ความหมายกลุ่มชาติพันธุ์มีการเปลี่ยนแปลงในช่วงเวลาต่างๆ กัน

    ในช่วงทศวรรษของ 2490-2510 ในสาขาวิชามานุษยวิทยา “กลุ่มชาติพันธุ์” คือ กลุ่มชนที่มีวัฒนธรรมเฉพาะแตกต่างจากกลุ่มชนอื่นๆ ซึ่งมักจะเป็นการกำหนดในเชิงวัตถุวิสัย โดยนักมานุษยวิทยาซึ่งสนใจในเรื่องมนุษย์และวัฒนธรรม

    แต่ความหมายของ “กลุ่มชาติพันธุ์” ในช่วงหลังทศวรรษ 
    2510 ได้เน้นไปที่จิตสำนึกในการจำแนกชาติพันธุ์บนพื้นฐานของความแตกต่างทางวัฒนธรรมโดยตัวสมาชิกชาติพันธุ์แต่ละกลุ่มเป็นสำคัญ... (อ่านเพิ่มใน เกี่ยวกับโครงการ/คู่มือการใช้)


    ภาพ-หาดราไวย์ จ.ภูเก็ต บ้านของอูรักลาโว้ย
  •   สนุก

    วิชาคอมพิวเตอร์ของนักเรียน
    ปกาเกอะญอ  อ. แม่ลาน้อย
    จ. แม่ฮ่องสอน


    ภาพโดย อาทิตย์    ทองดุศรี

  •   ข้าวไร่

    ผลิตผลจากไร่หมุนเวียน
    ของชาวโผล่ว (กะเหรี่ยงโปว์)   
    ต. ไล่โว่    อ.สังขละบุรี  
    จ. กาญจนบุรี

  •   ด้าย

    แม่บ้านปกาเกอะญอ
    เตรียมด้ายทอผ้า
    หินลาดใน  จ. เชียงราย

    ภาพโดย เพ็ญรุ่ง สุริยกานต์
  •   ถั่วเน่า

    อาหารและเครื่องปรุงหลัก
    ของคนไต(ไทใหญ่)
    จ.แม่ฮ่องสอน

     ภาพโดย เพ็ญรุ่ง สุริยกานต์
  •   ผู้หญิง

    โผล่ว(กะเหรี่ยงโปว์)
    บ้านไล่โว่ 
    อ.สังขละบุรี
    จ. กาญจนบุรี

    ภาพโดย ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ
  •   บุญ

    ประเพณีบุญข้าวใหม่
    ชาวโผล่ว    ต. ไล่โว่
    อ.สังขละบุรี  จ.กาญจนบุรี

    ภาพโดยศรยุทธ  เอี่ยมเอื้อยุทธ

  •   ปอยส่างลอง แม่ฮ่องสอน

    บรรพชาสามเณร
    งานบุญยิ่งใหญ่ของคนไต
    จ.แม่ฮ่องสอน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ปอยส่างลอง

    บรรพชาสามเณร
    งานบุญยิ่งใหญ่ของคนไต
    จ.แม่ฮ่องสอน

    ภาพโดย เบญจพล  วรรณถนอม
  •   อลอง

    จากพุทธประวัติ เจ้าชายสิทธัตถะ
    ทรงละทิ้งทรัพย์ศฤงคารเข้าสู่
    ร่มกาสาวพัสตร์เพื่อแสวงหา
    มรรคผลนิพพาน


    ภาพโดย  ดอกรัก  พยัคศรี

  •   สามเณร

    จากส่างลองสู่สามเณร
    บวชเรียนพระธรรมภาคฤดูร้อน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   พระพาราละแข่ง วัดหัวเวียง จ. แม่ฮ่องสอน

    หล่อจำลองจาก “พระมหามุนี” 
    ณ เมืองมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า
    ชาวแม่ฮ่องสอนถือว่าเป็นพระพุทธรูป
    คู่บ้านคู่เมืององค์หนึ่ง

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม

  •   เมตตา

    จิตรกรรมพุทธประวัติศิลปะไต
    วัดจองคำ-จองกลาง
    จ. แม่ฮ่องสอน
  •   วัดจองคำ-จองกลาง จ. แม่ฮ่องสอน


    เสมือนสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรม
    เมืองไตแม่ฮ่องสอน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ใส

    ม้งวัยเยาว์ ณ บ้านกิ่วกาญจน์
    ต. ริมโขง อ. เชียงของ
    จ. เชียงราย
  •   ยิ้ม

    แม้ชาวเลจะประสบปัญหาเรื่องที่อยู่อาศัย
    พื้นที่ทำประมง  แต่ด้วยความหวัง....
    ทำให้วันนี้ยังยิ้มได้

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ผสมผสาน

    อาภรณ์ผสานผสมระหว่างผ้าทอปกาเกอญอกับเสื้อยืดจากสังคมเมือง
    บ้านแม่ลาน้อย จ. แม่ฮ่องสอน
    ภาพโดย อาทิตย์ ทองดุศรี
  •   เกาะหลีเป๊ะ จ. สตูล

    แผนที่ในเกาะหลีเป๊ะ 
    ถิ่นเดิมของชาวเลที่ ณ วันนี้
    ถูกโอบล้อมด้วยรีสอร์ทการท่องเที่ยว
  •   ตะวันรุ่งที่ไล่โว่ จ. กาญจนบุรี

    ไล่โว่ หรือที่แปลเป็นภาษาไทยว่า ผาหินแดง เป็นชุมชนคนโผล่งที่แวดล้อมด้วยขุนเขาและผืนป่า 
    อาณาเขตของตำบลไล่โว่เป็นส่วนหนึ่งของป่าทุ่งใหญ่นเรศวรแถบอำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี 

    ภาพโดย ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ
  •   การแข่งขันยิงหน้าไม้ของอาข่า

    การแข่งขันยิงหน้าไม้ในเทศกาลโล้ชิงช้าของอาข่า ในวันที่ 13 กันยายน 2554 ที่บ้านสามแยกอีก้อ อ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย
 
  งานวิจัยชาติพันธุ์ในประเทศไทย    

 

รายชื่องานวิจัยด้านชาติพันธุ์ในฐานข้อมูล จำนวน 1377 รายการ

 

 

  Author Title Source Year
101. พิเชฐ สีตะพงศ์, ไอยเรศ บุญฤทธิ์ วัฒนธรรมไทยโซ่ง ภาพสะท้อนผ่านเพลงขับสายแปง มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2556
102. บูรณ์เชน สุขคุ้ม และ ธนพล วิยาสิงห์ วัฒนธรรมอาหารพื้นบ้านของกลุ่มชาติพันธุ์กูยจังหวัดศรีสะเกษ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ 2556
103. ศุภวรรณ จันทร์เติบ ความมั่นคงทางอาหารและสิทธิชุมชน: กรณีศึกษาการเข้าถึงแหล่งอาหารของชุมชนชาวเลหาดราไวย์ จังหวัดภูเก็ต วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ชนบทศึกษาและการพัฒนา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2556
104. พลวัฒ ประพัฒน์ทอง การทำนายชีวิตด้วยกระดูกไก่ของกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ในจังหวัดเชียงราย วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย.) 2556 หน้า 1-24 2556
105. โสวัตรี ณ ถลาง, กนิษฐา แย้มโพธิ์ใช้, สุดารัตน์ รอดบุญส่ง มิติทางวัฒนธรรมและการปรับตัวของกลุ่มชาติพันธุ์ชองในจังหวัดจันทบุรี วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 39 ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย.) 2556 หน้า 37-55 2556
106. วันดี พินิจวรสิน ภูมิปัญญาการปรับตัวในบ้าน - เรือนลาวเวียง บริเวณลุ่มน้ำภาคกลาง หน้าจั่ว: ว่าด้วยสถาปัตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดล้อม. ฉบับที่ 27 (ก.ย. 2555 – ส.ค. 2556) หน้า 45-60 2556
107. ทรงวุฒิ แลเชอะ และคณะ โครงการศึกษาวิจัยองค์ความรู้การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์พืชของชนเผ่าอาข่า ทรงวุฒิ แลเชอะ และคณะ. (2556). การศึกษาวิจัยองค์ความรู้การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์พืชของชนเผ่าอาข่า. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร 2556
108. สรรณ์ญา กระสงข์ โครงการศึกษารูปแบบการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ฟื้นฟู ภาษา ภูมิปัญญา วัฒนธรรมชาวกูย โดยกลุ่มชาติพันธุ์ชาวกูย บ้านขี้นาค ตำบลตูม อำเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ สรรณ์ญา กระสงข์. (2556). โครงการศึกษารูปแบบการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ฟื้นฟู ภาษา ภูมิปัญญา วัฒนธรรมชาวกูย โดยกลุ่มชาติพันธุ์ชาวกูย บ้านขี้นาค ตำบลตูม อำเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. 2556
109. Nicholas Ford Some Reflections of Ethnic Identity of Refugee Migrants from Burma to Thailand Nicholas Ford. “Some Reflections of Ethnic Identity of Refugee Migrants from Burma to Thailand” in Journal of Population and Social Studies, Volume 21 Number 1, July 2012: 39-46. 2555
110. ณรงค์ อาจสมิติ รัฐชาติ ชาติพันธุ์ และอัตลักษณ์ไทดำ ณรงค์ อาจสมิติ. (กรกฎาคม-ธันวาคม 2555). รัฐชาติ ชาติพันธุ์ และอัตลักษณ์ไทดำ. วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา(มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์), ปีที่3, ฉบับ2, น.53-78. 2555
111. คำพันธ์ ยะปะตัง ธรรมาสน์เสาเดียว : รูปแบบโครงสร้างและคติความเชื่อของชาวผู้ไท อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2555
112. Maya McLean เครื่องแต่งกาย และ อัตลักษณ์กลุ่มชาติพันธุ์ไทใหญ่ ในตำบลเทอดไทย ทางตอนเหนืองประเทศไทย Dress and Tai Yai Identity in Thoed Thai, Northern Thailand / Maya McLean. Studies in the material cultures of Southeast Asia ; -- no. 18 Bangkok : White Lotus, 2012 2555
113. อุสิธารา จันตาเวียง และคณะ การศึกษาศักยภาพของชุมชนเพื่อจัดตั้งศูนย์วัฒนธรรมของชาวเขาเผ่าลาหู่ บ้านท่าฮ่อ ตำบลทรายขาว อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย 2555
114. ฉวีวรรณ ประจวบเหมาะ, สรินยา คำเมือง, สมรักษ์ ชัยสิงห์กานานนท์, บุญสม ชีรวณิชย์กุล, อธิตา สุนทโรทก ปริศนาวงศาคณาญาติ ”ลัวะ” มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2555
115. ไพบูลย์ เฮงสุวรรณ ชีวิตบนรอยตะเข็บ: การต่อรองสนามชายแดนของการพัฒนาและการจัดการทรัพยากรตามแนวแม่น้ำสาละวิน Paiboon Hengsuwn. In-between lives: Negotiating Bordered Terrains of Development and Resource Management along Salween River. Research Report. The Graduate School in Social Science Department, Chiangmai University. 2012. 2555
116. วิทยา วงศ์จันทา การประกอบสร้าง “ความเป็นลาว” ในวรรณกรรมและสื่อภาพยนตร์ไทยร่วมสมัย วิทยานิพนธ์อักษรศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2555
117. Kevin T. Conlon Ethnic Violence in Southern Thailand: The Anomaly of Satun Conlon, Kevin T. “Ethnic Violence in Southern Thailand: The Anomaly of Satun” (2012) California: Naval Postgraduate School. 131. 2555
118. Secil Erdogan Identity Formation and Acculturation: The Case of Karen Refugees in London, Ontario - 2555
119. ปรีดา คงแป้นและคณะ วิกฤติชาวเล มูลนิธิชุมชนไทย 2555
120. คำจันทร์ ปัญญาทอง วิถียังชีพของชนเผ่าขมุในแขวงบ่อแก้ว ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2555


 


 

ฐานข้อมูลอื่นๆของศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
  ฐานข้อมูลพิพิธภัณฑ์ในประเทศไทย
จารึกในประเทศไทย
จดหมายเหตุทางมานุษยวิทยา
แหล่งโบราณคดีที่สำคัญในประเทศไทย
หนังสือเก่าชาวสยาม
ข่าวมานุษยวิทยา
ICH Learning Resources
ฐานข้อมูลเอกสารโบราณภูมิภาคตะวันตกในประเทศไทย
ฐานข้อมูลประเพณีท้องถิ่นในประเทศไทย
ฐานข้อมูลสังคม - วัฒนธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เมนูหลักภายในเว็บไซต์
  หน้าหลัก
งานวิจัยชาติพันธุ์ในประเทศไทย
บทความชาติพันธุ์
ข่าวชาติพันธุ์
เครือข่ายชาติพันธุ์
เกี่ยวกับเรา
เมนูหลักภายในเว็บไซต์
  ข้อมูลโครงการ
ทีมงาน
ติดต่อเรา
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
ช่วยเหลือ
  กฏกติกาและมารยาท
แบบสอบถาม
คำถามที่พบบ่อย


ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) เลขที่ 20 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 10170 
Tel. +66 2 8809429 | Fax. +66 2 8809332 | E-mail. webmaster@sac.or.th 
สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2549    |   เงื่อนไขและข้อตกลง