สมัครสมาชิก   
| |
ค้นหาข้อมูล
ค้นหาแบบละเอียด
  •   ความเป็นมาและหลักเหตุผล

    เพื่อรวบรวมงานวิจัยทางชาติพันธุ์ที่มีคุณภาพมาสกัดสาระสำคัญในเชิงมานุษยวิทยาและเผยแผ่สาระงานวิจัยแก่นักวิชาการ นักศึกษานักเรียนและผู้สนใจให้เข้าถึงงานวิจัยทางชาติพันธุ์ได้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น

  •   ฐานข้อมูลจำแนกกลุ่มชาติพันธุ์ตามชื่อเรียกที่คนในใช้เรียกตนเอง ด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้ คือ

    1. ชื่อเรียกที่ “คนอื่น” ใช้มักเป็นชื่อที่มีนัยในทางเหยียดหยาม ทำให้สมาชิกกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ รู้สึกไม่ดี อยากจะใช้ชื่อที่เรียกตนเองมากกว่า ซึ่งคณะทำงานมองว่าน่าจะเป็น “สิทธิพื้นฐาน” ของการเป็นมนุษย์

    2. ชื่อเรียกชาติพันธุ์ของตนเองมีความชัดเจนว่าหมายถึงใคร มีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมอย่างไร และตั้งถิ่นฐานอยู่แห่งใดมากกว่าชื่อที่คนอื่นเรียก ซึ่งมักจะมีความหมายเลื่อนลอย ไม่แน่ชัดว่าหมายถึงใคร 

     

    ภาพ-เยาวชนปกาเกอะญอ บ้านมอวาคี จ.เชียงใหม่

  •  

    จากการรวบรวมงานวิจัยในฐานข้อมูลและหลักการจำแนกชื่อเรียกชาติพันธุ์ที่คนในใช้เรียกตนเอง พบว่า ประเทศไทยมีกลุ่มชาติพันธุ์มากกว่า 62 กลุ่ม


    ภาพ-สุภาษิตปกาเกอะญอ
  •   การจำแนกกลุ่มชนมีลักษณะพิเศษกว่าการจำแนกสรรพสิ่งอื่นๆ

    เพราะกลุ่มชนต่างๆ มีความรู้สึกนึกคิดและภาษาที่จะแสดงออกมาได้ว่า “คิดหรือรู้สึกว่าตัวเองเป็นใคร” ซึ่งการจำแนกตนเองนี้ อาจแตกต่างไปจากที่คนนอกจำแนกให้ ในการศึกษาเรื่องนี้นักมานุษยวิทยาจึงต้องเพิ่มมุมมองเรื่องจิตสำนึกและชื่อเรียกตัวเองของคนในกลุ่มชาติพันธุ์ 

    ภาพ-สลากย้อม งานบุญของยอง จ.ลำพูน
  •   มโนทัศน์ความหมายกลุ่มชาติพันธุ์มีการเปลี่ยนแปลงในช่วงเวลาต่างๆ กัน

    ในช่วงทศวรรษของ 2490-2510 ในสาขาวิชามานุษยวิทยา “กลุ่มชาติพันธุ์” คือ กลุ่มชนที่มีวัฒนธรรมเฉพาะแตกต่างจากกลุ่มชนอื่นๆ ซึ่งมักจะเป็นการกำหนดในเชิงวัตถุวิสัย โดยนักมานุษยวิทยาซึ่งสนใจในเรื่องมนุษย์และวัฒนธรรม

    แต่ความหมายของ “กลุ่มชาติพันธุ์” ในช่วงหลังทศวรรษ 
    2510 ได้เน้นไปที่จิตสำนึกในการจำแนกชาติพันธุ์บนพื้นฐานของความแตกต่างทางวัฒนธรรมโดยตัวสมาชิกชาติพันธุ์แต่ละกลุ่มเป็นสำคัญ... (อ่านเพิ่มใน เกี่ยวกับโครงการ/คู่มือการใช้)


    ภาพ-หาดราไวย์ จ.ภูเก็ต บ้านของอูรักลาโว้ย
  •   สนุก

    วิชาคอมพิวเตอร์ของนักเรียน
    ปกาเกอะญอ  อ. แม่ลาน้อย
    จ. แม่ฮ่องสอน


    ภาพโดย อาทิตย์    ทองดุศรี

  •   ข้าวไร่

    ผลิตผลจากไร่หมุนเวียน
    ของชาวโผล่ว (กะเหรี่ยงโปว์)   
    ต. ไล่โว่    อ.สังขละบุรี  
    จ. กาญจนบุรี

  •   ด้าย

    แม่บ้านปกาเกอะญอ
    เตรียมด้ายทอผ้า
    หินลาดใน  จ. เชียงราย

    ภาพโดย เพ็ญรุ่ง สุริยกานต์
  •   ถั่วเน่า

    อาหารและเครื่องปรุงหลัก
    ของคนไต(ไทใหญ่)
    จ.แม่ฮ่องสอน

     ภาพโดย เพ็ญรุ่ง สุริยกานต์
  •   ผู้หญิง

    โผล่ว(กะเหรี่ยงโปว์)
    บ้านไล่โว่ 
    อ.สังขละบุรี
    จ. กาญจนบุรี

    ภาพโดย ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ
  •   บุญ

    ประเพณีบุญข้าวใหม่
    ชาวโผล่ว    ต. ไล่โว่
    อ.สังขละบุรี  จ.กาญจนบุรี

    ภาพโดยศรยุทธ  เอี่ยมเอื้อยุทธ

  •   ปอยส่างลอง แม่ฮ่องสอน

    บรรพชาสามเณร
    งานบุญยิ่งใหญ่ของคนไต
    จ.แม่ฮ่องสอน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ปอยส่างลอง

    บรรพชาสามเณร
    งานบุญยิ่งใหญ่ของคนไต
    จ.แม่ฮ่องสอน

    ภาพโดย เบญจพล  วรรณถนอม
  •   อลอง

    จากพุทธประวัติ เจ้าชายสิทธัตถะ
    ทรงละทิ้งทรัพย์ศฤงคารเข้าสู่
    ร่มกาสาวพัสตร์เพื่อแสวงหา
    มรรคผลนิพพาน


    ภาพโดย  ดอกรัก  พยัคศรี

  •   สามเณร

    จากส่างลองสู่สามเณร
    บวชเรียนพระธรรมภาคฤดูร้อน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   พระพาราละแข่ง วัดหัวเวียง จ. แม่ฮ่องสอน

    หล่อจำลองจาก “พระมหามุนี” 
    ณ เมืองมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า
    ชาวแม่ฮ่องสอนถือว่าเป็นพระพุทธรูป
    คู่บ้านคู่เมืององค์หนึ่ง

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม

  •   เมตตา

    จิตรกรรมพุทธประวัติศิลปะไต
    วัดจองคำ-จองกลาง
    จ. แม่ฮ่องสอน
  •   วัดจองคำ-จองกลาง จ. แม่ฮ่องสอน


    เสมือนสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรม
    เมืองไตแม่ฮ่องสอน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ใส

    ม้งวัยเยาว์ ณ บ้านกิ่วกาญจน์
    ต. ริมโขง อ. เชียงของ
    จ. เชียงราย
  •   ยิ้ม

    แม้ชาวเลจะประสบปัญหาเรื่องที่อยู่อาศัย
    พื้นที่ทำประมง  แต่ด้วยความหวัง....
    ทำให้วันนี้ยังยิ้มได้

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ผสมผสาน

    อาภรณ์ผสานผสมระหว่างผ้าทอปกาเกอญอกับเสื้อยืดจากสังคมเมือง
    บ้านแม่ลาน้อย จ. แม่ฮ่องสอน
    ภาพโดย อาทิตย์ ทองดุศรี
  •   เกาะหลีเป๊ะ จ. สตูล

    แผนที่ในเกาะหลีเป๊ะ 
    ถิ่นเดิมของชาวเลที่ ณ วันนี้
    ถูกโอบล้อมด้วยรีสอร์ทการท่องเที่ยว
  •   ตะวันรุ่งที่ไล่โว่ จ. กาญจนบุรี

    ไล่โว่ หรือที่แปลเป็นภาษาไทยว่า ผาหินแดง เป็นชุมชนคนโผล่งที่แวดล้อมด้วยขุนเขาและผืนป่า 
    อาณาเขตของตำบลไล่โว่เป็นส่วนหนึ่งของป่าทุ่งใหญ่นเรศวรแถบอำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี 

    ภาพโดย ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ
  •   การแข่งขันยิงหน้าไม้ของอาข่า

    การแข่งขันยิงหน้าไม้ในเทศกาลโล้ชิงช้าของอาข่า ในวันที่ 13 กันยายน 2554 ที่บ้านสามแยกอีก้อ อ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย
 
  งานวิจัยชาติพันธุ์ในประเทศไทย    

 

รายชื่องานวิจัยด้านชาติพันธุ์ในฐานข้อมูล จำนวน 1377 รายการ

 

 

  Author Title Source Year
121. วันดี พินิจวรสิน บ้านพื้นถิ่นลาวเวียง...ที่บ้านเลือก วารสารหน้าจั่ว ว่าด้วยประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมไทย ฉบับที่ 8 (ก.ย. 2554 – ส.ค. 2555) หน้า 216-235 2555
122. บุญยงค์ เกศเทศ “ไทดำ” เมืองแถง “ทรงดำ”ถิ่นสยาม จากหนองแฮด ถึง หนองปรง บุญยงค์ เกศเทศ.ไทดำ” เมืองแถง “ทรงดำ”ถิ่นสยาม จากหนองแฮด ถึง หนองปรง .อินทนิล.กรุงเทพฯ.232 หน้า 2554
123. วรศักดิ์ พานทอง กระบวนการจัดการของภาครัฐต่อหมู่บ้านกะเหรี่ยงคอยาวในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน กระบวนการจัดการของภาครัฐต่อหมู่บ้านกะเหรี่ยงคอยาวในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน,รายงานการค้นคว้าแบบอิสระ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต ,บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 78 หน้า 2554
124. Ken Manson The subgrouping of Karen Ken Manson. “The subgrouping of Karen” Journal of the Southeast Asian Linguistic Society. พฤษภาคม 2554 2554
125. นนทวรรณ แสนไพร การเคลื่อนย้าย การตั้งถิ่นฐาน และการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตด้าน เศรษฐกิจของชาวดาระอั้งในอำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(ภูมิศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2554
126. Hill, Jaquetta; Saenghong, Nannaphat; Grim-Feinberg, Kate Dance or Change Your Religion: Conservation of Dance Music “Awhui” and Ethnic Identity Among Lahu Na Shehleh of Northern Thailand. Studies on Asia Series IV, Volume 1, No. 2, Summer 2011 2554
127. ชนะพันธ์ รวีโชติภัคนันท์ วิถีชีวิตชาวกะเหรี่ยง อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2554
128. Pine, Judith M.S. Lahu Writing and Writing Lahu: an Inquiry into the Value of Literacy A dissertation submitted in partial fulfillment of the requirement for the degree of Doctor of Philosophy. University of Washington, Department of Anthropology. 2554
129. LYTTLETON, CHRIS. SAYANOUSO, DOUANGPHET. Cultural Reproduction and “Minority” Sexuality: Intimate Changes among Ethnic Akha in the Upper Mekong Lyttleton, C., Sayanouso, D. 2011. Cultural Reproduction and “Minority” Sexuality: Intimate Changes among Ethnic Akha in the Upper Mekong. Asian Studies Review 35:169-188. 2554
130. ธงชัย ลุมเพชร วิถีชีวิตชาวไทยทรงดำ ตำบลบ้านดอน อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2554
131. นิโลบล เอมศรี วิถีชีวิตชาวมอญตำบลหวายเหนียว อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2554
132. สมเกียรติ ดาราเย็น การอนุรักษ์ประเพณีรำผีมอญของชุมชนชาวมอญตำบลนครชุมน์ อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2554
133. หนึ่งฤทัย พาอ้อ เพศสภาพ ศาสนา และบทบาททางสังคมของภิกษุนีเวียดนาม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2554
134. สาริณีย์ ภาสยะวรรณ การเมืองของการสร้างภาพตัวแทนทางชาติพันธุ์ในพื้นที่การท่องเที่ยว: กรณีศึกษาโฮมสเตย์ชาวลาหู่ บ้านยะดู มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2554
135. ภาณุพงศ์ อุดมศิลป์ ลัทธิพิธีการนับถือเจ้าแม่สองนางกับชุมชนชายฝั่งลุ่มน้ำโขง ปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต (สาขาวิชาภาษาไทย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2554
136. ดำเกิง โถทอง อัตลักษณ์และการคงอยู่ของกลุ่มชาติพันธุ์กูยในอาณาบริเวณพนมดงรัก วิทยานิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชายุทธศาสตร์การพัฒนาภูมิภาค (กลุ่มอนุภูมิภาคลุ่มน้ำแม่โขง) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ 2554
137. ประสิทธิ์ ลีปรีชา, สุภางค์ จันทวานิช ม้งลาวในประเทศไทย : นโยบายและการดำเนินการของภาครัฐไทย (2518 - 2552) กรมกิจการชายแดนทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย 2554
138. เกรียงไกร ฮ่องเฮงเส็ง การเมืองเรื่องชาติพันธุ์และอัตลักษณ์ของไทยทรงดำ ศึกษากรณี อำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี สังคมวิทยามหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยา ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2554
139. อภิรัฐ คำวัง ชาวซิกข์ในสยามและล้านนาว่าด้วยเรื่องประวัติศาสตร์การตั้งชุมชน ศาสนาและการค้า วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 28 (2) พ.ค. – ส.ค. 2554 2554
140. เลหล้า ตรีเอกานุกูล กิจกรรมพึ่งตนเองกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์ไตหย่า หมู่บ้านน้ำบ่อขาว ตำบลห้วยไคร้ อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย เลหล้า ตรีเอกานุกูล. (2554). กิจกรรมพึ่งตนเองกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์ไตหย่า หมู่บ้านน้ำบ่อขาว ตำบลห้วยไคร้ อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย. คณะสังคมศาสตร์: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 2554


 


 

ฐานข้อมูลอื่นๆของศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
  ฐานข้อมูลพิพิธภัณฑ์ในประเทศไทย
จารึกในประเทศไทย
จดหมายเหตุทางมานุษยวิทยา
แหล่งโบราณคดีที่สำคัญในประเทศไทย
หนังสือเก่าชาวสยาม
ข่าวมานุษยวิทยา
ICH Learning Resources
ฐานข้อมูลเอกสารโบราณภูมิภาคตะวันตกในประเทศไทย
ฐานข้อมูลประเพณีท้องถิ่นในประเทศไทย
ฐานข้อมูลสังคม - วัฒนธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เมนูหลักภายในเว็บไซต์
  หน้าหลัก
งานวิจัยชาติพันธุ์ในประเทศไทย
บทความชาติพันธุ์
ข่าวชาติพันธุ์
เครือข่ายชาติพันธุ์
เกี่ยวกับเรา
เมนูหลักภายในเว็บไซต์
  ข้อมูลโครงการ
ทีมงาน
ติดต่อเรา
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
ช่วยเหลือ
  กฏกติกาและมารยาท
แบบสอบถาม
คำถามที่พบบ่อย


ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) เลขที่ 20 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 10170 
Tel. +66 2 8809429 | Fax. +66 2 8809332 | E-mail. webmaster@sac.or.th 
สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2549    |   เงื่อนไขและข้อตกลง