สมัครสมาชิก   
| |
ค้นหาข้อมูล
ค้นหาแบบละเอียด
  •   ความเป็นมาและหลักเหตุผล

    เพื่อรวบรวมงานวิจัยทางชาติพันธุ์ที่มีคุณภาพมาสกัดสาระสำคัญในเชิงมานุษยวิทยาและเผยแผ่สาระงานวิจัยแก่นักวิชาการ นักศึกษานักเรียนและผู้สนใจให้เข้าถึงงานวิจัยทางชาติพันธุ์ได้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น

  •   ฐานข้อมูลจำแนกกลุ่มชาติพันธุ์ตามชื่อเรียกที่คนในใช้เรียกตนเอง ด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้ คือ

    1. ชื่อเรียกที่ “คนอื่น” ใช้มักเป็นชื่อที่มีนัยในทางเหยียดหยาม ทำให้สมาชิกกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ รู้สึกไม่ดี อยากจะใช้ชื่อที่เรียกตนเองมากกว่า ซึ่งคณะทำงานมองว่าน่าจะเป็น “สิทธิพื้นฐาน” ของการเป็นมนุษย์

    2. ชื่อเรียกชาติพันธุ์ของตนเองมีความชัดเจนว่าหมายถึงใคร มีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมอย่างไร และตั้งถิ่นฐานอยู่แห่งใดมากกว่าชื่อที่คนอื่นเรียก ซึ่งมักจะมีความหมายเลื่อนลอย ไม่แน่ชัดว่าหมายถึงใคร 

     

    ภาพ-เยาวชนปกาเกอะญอ บ้านมอวาคี จ.เชียงใหม่

  •  

    จากการรวบรวมงานวิจัยในฐานข้อมูลและหลักการจำแนกชื่อเรียกชาติพันธุ์ที่คนในใช้เรียกตนเอง พบว่า ประเทศไทยมีกลุ่มชาติพันธุ์มากกว่า 62 กลุ่ม


    ภาพ-สุภาษิตปกาเกอะญอ
  •   การจำแนกกลุ่มชนมีลักษณะพิเศษกว่าการจำแนกสรรพสิ่งอื่นๆ

    เพราะกลุ่มชนต่างๆ มีความรู้สึกนึกคิดและภาษาที่จะแสดงออกมาได้ว่า “คิดหรือรู้สึกว่าตัวเองเป็นใคร” ซึ่งการจำแนกตนเองนี้ อาจแตกต่างไปจากที่คนนอกจำแนกให้ ในการศึกษาเรื่องนี้นักมานุษยวิทยาจึงต้องเพิ่มมุมมองเรื่องจิตสำนึกและชื่อเรียกตัวเองของคนในกลุ่มชาติพันธุ์ 

    ภาพ-สลากย้อม งานบุญของยอง จ.ลำพูน
  •   มโนทัศน์ความหมายกลุ่มชาติพันธุ์มีการเปลี่ยนแปลงในช่วงเวลาต่างๆ กัน

    ในช่วงทศวรรษของ 2490-2510 ในสาขาวิชามานุษยวิทยา “กลุ่มชาติพันธุ์” คือ กลุ่มชนที่มีวัฒนธรรมเฉพาะแตกต่างจากกลุ่มชนอื่นๆ ซึ่งมักจะเป็นการกำหนดในเชิงวัตถุวิสัย โดยนักมานุษยวิทยาซึ่งสนใจในเรื่องมนุษย์และวัฒนธรรม

    แต่ความหมายของ “กลุ่มชาติพันธุ์” ในช่วงหลังทศวรรษ 
    2510 ได้เน้นไปที่จิตสำนึกในการจำแนกชาติพันธุ์บนพื้นฐานของความแตกต่างทางวัฒนธรรมโดยตัวสมาชิกชาติพันธุ์แต่ละกลุ่มเป็นสำคัญ... (อ่านเพิ่มใน เกี่ยวกับโครงการ/คู่มือการใช้)


    ภาพ-หาดราไวย์ จ.ภูเก็ต บ้านของอูรักลาโว้ย
  •   สนุก

    วิชาคอมพิวเตอร์ของนักเรียน
    ปกาเกอะญอ  อ. แม่ลาน้อย
    จ. แม่ฮ่องสอน


    ภาพโดย อาทิตย์    ทองดุศรี

  •   ข้าวไร่

    ผลิตผลจากไร่หมุนเวียน
    ของชาวโผล่ว (กะเหรี่ยงโปว์)   
    ต. ไล่โว่    อ.สังขละบุรี  
    จ. กาญจนบุรี

  •   ด้าย

    แม่บ้านปกาเกอะญอ
    เตรียมด้ายทอผ้า
    หินลาดใน  จ. เชียงราย

    ภาพโดย เพ็ญรุ่ง สุริยกานต์
  •   ถั่วเน่า

    อาหารและเครื่องปรุงหลัก
    ของคนไต(ไทใหญ่)
    จ.แม่ฮ่องสอน

     ภาพโดย เพ็ญรุ่ง สุริยกานต์
  •   ผู้หญิง

    โผล่ว(กะเหรี่ยงโปว์)
    บ้านไล่โว่ 
    อ.สังขละบุรี
    จ. กาญจนบุรี

    ภาพโดย ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ
  •   บุญ

    ประเพณีบุญข้าวใหม่
    ชาวโผล่ว    ต. ไล่โว่
    อ.สังขละบุรี  จ.กาญจนบุรี

    ภาพโดยศรยุทธ  เอี่ยมเอื้อยุทธ

  •   ปอยส่างลอง แม่ฮ่องสอน

    บรรพชาสามเณร
    งานบุญยิ่งใหญ่ของคนไต
    จ.แม่ฮ่องสอน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ปอยส่างลอง

    บรรพชาสามเณร
    งานบุญยิ่งใหญ่ของคนไต
    จ.แม่ฮ่องสอน

    ภาพโดย เบญจพล  วรรณถนอม
  •   อลอง

    จากพุทธประวัติ เจ้าชายสิทธัตถะ
    ทรงละทิ้งทรัพย์ศฤงคารเข้าสู่
    ร่มกาสาวพัสตร์เพื่อแสวงหา
    มรรคผลนิพพาน


    ภาพโดย  ดอกรัก  พยัคศรี

  •   สามเณร

    จากส่างลองสู่สามเณร
    บวชเรียนพระธรรมภาคฤดูร้อน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   พระพาราละแข่ง วัดหัวเวียง จ. แม่ฮ่องสอน

    หล่อจำลองจาก “พระมหามุนี” 
    ณ เมืองมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า
    ชาวแม่ฮ่องสอนถือว่าเป็นพระพุทธรูป
    คู่บ้านคู่เมืององค์หนึ่ง

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม

  •   เมตตา

    จิตรกรรมพุทธประวัติศิลปะไต
    วัดจองคำ-จองกลาง
    จ. แม่ฮ่องสอน
  •   วัดจองคำ-จองกลาง จ. แม่ฮ่องสอน


    เสมือนสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรม
    เมืองไตแม่ฮ่องสอน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ใส

    ม้งวัยเยาว์ ณ บ้านกิ่วกาญจน์
    ต. ริมโขง อ. เชียงของ
    จ. เชียงราย
  •   ยิ้ม

    แม้ชาวเลจะประสบปัญหาเรื่องที่อยู่อาศัย
    พื้นที่ทำประมง  แต่ด้วยความหวัง....
    ทำให้วันนี้ยังยิ้มได้

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ผสมผสาน

    อาภรณ์ผสานผสมระหว่างผ้าทอปกาเกอญอกับเสื้อยืดจากสังคมเมือง
    บ้านแม่ลาน้อย จ. แม่ฮ่องสอน
    ภาพโดย อาทิตย์ ทองดุศรี
  •   เกาะหลีเป๊ะ จ. สตูล

    แผนที่ในเกาะหลีเป๊ะ 
    ถิ่นเดิมของชาวเลที่ ณ วันนี้
    ถูกโอบล้อมด้วยรีสอร์ทการท่องเที่ยว
  •   ตะวันรุ่งที่ไล่โว่ จ. กาญจนบุรี

    ไล่โว่ หรือที่แปลเป็นภาษาไทยว่า ผาหินแดง เป็นชุมชนคนโผล่งที่แวดล้อมด้วยขุนเขาและผืนป่า 
    อาณาเขตของตำบลไล่โว่เป็นส่วนหนึ่งของป่าทุ่งใหญ่นเรศวรแถบอำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี 

    ภาพโดย ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ
  •   การแข่งขันยิงหน้าไม้ของอาข่า

    การแข่งขันยิงหน้าไม้ในเทศกาลโล้ชิงช้าของอาข่า ในวันที่ 13 กันยายน 2554 ที่บ้านสามแยกอีก้อ อ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย
 
  Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre
Ethnic Groups Research Database
Sorted by date | title

   Record

 
Subject คะยัน กะจ๊าง, คะยาห์ กะเรนนี บเว,โพล่ง โผล่ง โพล่ว ซู กะเหรี่ยง , ปกาเกอะญอ จกอ คานยอ กะเหรี่ยง, ภาษา, ภาษาศาสตร์, วิธีการออกเสียง
Author Ken Manson
Title The subgrouping of Karen
Document Type บทความ Original Language of Text ภาษาอังกฤษ
Ethnic Identity โพล่ง โผล่ง โผล่ว ซู กะเหรี่ยง, ปกาเกอะญอ, กะแย กะยา บเว, กะยัน แลเคอ, Language and Linguistic Affiliations จีน-ทิเบต(Sino-Tibetan)
Location of
Documents
Ken Manson.  “The subgrouping of Karen” Journal of the Southeast Asian Linguistic Society. พฤษภาคม 2554  Total Pages 14 หน้า Year 2554
Source Ken Manson. “The subgrouping of Karen” Journal of the Southeast Asian Linguistic Society. พฤษภาคม 2554
Abstract

          เป็นการศึกษาถึงวิธีการออกเสียงและการพัฒนาการออกเสียงของภาษากะเหรี่ยงกลุ่มต่างๆ เพื่อนำมาแบ่งภาษากะเหรี่ยงออกเป็นกลุ่มย่อยๆ ตามความใกล้ชิดกัน

          จากการศึกษาพบว่าภาษากะเหรี่ยงสามารถแบ่งย่อยได้เป็น 4 กลุ่ม คือ peripheral ประกอบด้วย Pa’O และ Pwo แสดงถึงเสียงหยุดก่อนเริ่มต้นคล้ายการสำลัก กลุ่ม Northern ประกอบด้วย Kayan, Lahta, Yinbawและ Yintale มีการรวมกันของเสียงสุดท้ายที่ขึ้นจมูกและการรวมกันของเสียงพยางค์สุดท้ายกับเสียงของสระเสียงยาว กลุ่ม Central ประกอบด้วย (Kayah, Bwe, Geba) มีเสียงสระสูงกว่ากลุ่มอื่น และกลุ่ม Southern ประกอบด้วย (Sgaw, Luce’s Paku, Palaychi, Dermuha) มีการรวมกันของเสียงสุดท้ายที่ขึ้นจมูก

Focus

เน้นศึกษาเกี่ยวกับการแบ่งกลุ่มภาษากะเหรี่ยงตามวิธีการออกเสียง

Theoretical Issues

          ใช้การศึกษาเอกสารและสืบค้นวิธีการออกเสียงที่แตกต่างกัน รวมถึงการพัฒนาการออกเสียงของภาษากะเหรี่ยงแต่ละภาษาเพื่อนำมาจัดการแบ่งกลุ่มชาวกะเหรี่ยง

Ethnic Group in the Focus

กะเหรี่ยง

Language and Linguistic Affiliations

          พบว่าภาษากะเหรี่ยงสามารถแบ่งได้ประมาณ 20 – 30 กลุ่มย่อยตามการพัฒนาระบบเสียง  มีการบันทึกแน่นอนทั้งหมด 18ภาษา (หน้า 1)

          ภาษากะเหรี่ยงที่พบในแถบที่ราบสูงทางภาคตะวันออกของพม่ามักมีภาษาถิ่นเฉพาะจำนวนมากในแต่ละที่ (หน้า 1)

          การพัฒนาการออกเสียงของภาษากะเหรี่ยงนั้นสามารถย้อนกลับไปศึกษาได้ตั้งแต่ช่วงที่มีการออกเสียงเปิดที่แตกต่างกัน 2 วิธี และอีก 1 วิธีการออกเสียงปิด และได้มีการพัฒนาการ
ออกเสียงมาทั้งหมด 6 ขั้นตอน ก่อนที่จะมาเป็นภาษากะเหรี่ยงที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน (หน้า 3)

          เสียงก่อนเสียงพยัญชนะต้น (proto initial consonant) ยังคงมีพบอยู่ในภาษากะเหรี่ยงหลายๆ กลุ่ม การออกเสียงพยัญชนะในภาษากะเหรี่ยงมีได้ตั้งแต่การออกควบกันจนถึงการออกเสียงที่ได้ยินเสียงสระที่ไม่ชัด ( from co-articulation to the clear insertion of an epthetic schwa) (หน้า 6)

          สระเป็นสิ่งที่มีการเปลี่ยนแปลงน้อยที่สุดในการพัฒนาของภาษากะเหรี่ยง โดยเฉพาะภาษากะเหรี่ยงที่พบในบริเวณทางภาคใต้ที่มีการเปลี่ยนแปลงน้อยมาก ทำให้สามารถใช้การออกเสียงขึ้นจมูกในการระบุและจำแนกประวัติการพัฒนาทางด้านภาษาภายในกลุ่มภาษากะเหรี่ยงได้ (หน้า 7)

          การออกเสียงที่แตกต่างกันของพยัญชนะท้ายเสียง /p,t,k/ ได้หายไปตั้งแต่เมื่อชาวกะเหรี่ยงมีการติดต่อกับกลุ่มม้งและเขมร โดยมีเสียงกะเหรี่ยงกลุ่ม Pa’O ที่ยังคงมีพยัญชนะท้ายพยางค์ และน่าจะมาจากการยืมคำภาษาม้ง-เขมรมากกว่า (หน้า 7)

          ภาษากะเหรี่ยงสามารถแบ่งย่อยได้เป็น 4 กลุ่มคือ peripheral ประกอบด้วย Pa’O และ Pwo แสดงถึงเสียงหยุดก่อนเริ่มต้นคล้ายการสำลัก กลุ่ม Northern ประกอบด้วย Kayan, Lahta, Yinbawและ Yintale มีการรวมกันของเสียงสุดท้ายที่ขึ้นจมูกและการรวมกันของเสียงพยางค์สุดท้ายกับเสียงของสระเสียงยาว กลุ่ม Central ประกอบด้วย (Kayah, Bwe, Geba) มีเสียงสระสูงกว่ากลุ่มอื่น และกลุ่ม Southern ประกอบด้วย (Sgaw, Luce’s Paku, Palaychi, Dermuha) มีการรวมกันของเสียงสุดท้ายที่ขึ้นจมูก (หน้า 8)

Study Period (Data Collection)

ไม่มีข้อมูล

History of the Group and Community

ไม่มีข้อมูล

Settlement Pattern

ไม่มีข้อมูล

Demography

          ประมาณการว่ามีประชากรชาวกะเหรี่ยงจำนวน 3.9 ล้านคน แต่น่าจะเป็นตัวเลขที่น้อยกว่าความเป็นจริง ซึ่งน่าจะมีประชากรรวม 6-10 ล้านคน (หน้า 1)

Economy

ไม่มีข้อมูล

Social Organization

ไม่มีข้อมูล

Political Organization

ไม่มีข้อมูล

Belief System

ไม่มีข้อมูล

Education and Socialization

ไม่มีข้อมูล

Health and Medicine

ไม่มีข้อมูล

Art and Crafts (including Clothing Costume)

ไม่มีข้อมูล

Folklore

ไม่มีข้อมูล

Ethnicity (Ethnic Identity, Boundaries and Ethnic Relation)

          กะเหรี่ยงสามารถแบ่งกลุ่มย่อยได้ตามรูปแบบภาษาและการกระจายตัวทางภูมิศาสตร์คือ North Pa’O, Lahta, Kayan, Yinbaw, West Kayah, Pwo, East Kayah, Yintale, Geker, Kayaw, Gekho, Bre, Manu, Geba, Bwe, Palaychi, Sgaw, Pku, Dermuha และ South Pa’O (หน้า 2)

Social Cultural and Identity Change

          ในปัจจุบันชาวกะเหรี่ยงไม่ได้พูดภาษาของตนทั้งหมด มีบางส่วนที่ไม่สามารถพูดภาษากะเหรี่ยงได้และเปลี่ยนไปพูดภาษาพม่าแทน โดยเฉพาะชาวกะเหรี่ยงกลุ่มที่อาศัยอยู่ในบริเวณที่ราบ (หน้า 1)

Critic Issues

ไม่มีข้อมูล

Other Issues

ไม่มีข้อมูล

Map/Illustration

1. รูปภาพแสดงการกระจายตัวของภาษากะเหรี่ยงกลุ่มต่างๆ ตามลักษณะทางภูมิศาสตร์
2. แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างภาษากะเหรี่ยงกลุ่มต่างๆ
3. ตารางแสดงการเปรียบเทียบวิธีการออกเสียงภาษากะเหรี่ยง
4. ตารางการออกเสียงของภาษากะเหรี่ยงกลุ่มต่างๆ
5. ตารางแสดงลักษณะการออกเสียงเปรียบเทียบระหว่างชาวกะเหรี่ยงกลุ่มต่างๆ

Text Analyst กรกนก ศฤงคารีเศรษฐ์ Date of Report 28 เม.ย 2559
TAG คะยัน กะจ๊าง, คะยาห์ กะเรนนี บเว, โพล่ง โผล่ง โพล่ว ซู กะเหรี่ยง, ปกาเกอะญอ จกอ คานยอ กะเหรี่ยง, ภาษา, ภาษาศาสตร์, วิธีการออกเสียง, Translator -
 
 

 

ฐานข้อมูลอื่นๆของศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
  ฐานข้อมูลพิพิธภัณฑ์ในประเทศไทย
จารึกในประเทศไทย
จดหมายเหตุทางมานุษยวิทยา
แหล่งโบราณคดีที่สำคัญในประเทศไทย
หนังสือเก่าชาวสยาม
ข่าวมานุษยวิทยา
ICH Learning Resources
ฐานข้อมูลเอกสารโบราณภูมิภาคตะวันตกในประเทศไทย
ฐานข้อมูลประเพณีท้องถิ่นในประเทศไทย
ฐานข้อมูลสังคม - วัฒนธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เมนูหลักภายในเว็บไซต์
  หน้าหลัก
งานวิจัยชาติพันธุ์ในประเทศไทย
บทความชาติพันธุ์
ข่าวชาติพันธุ์
เครือข่ายชาติพันธุ์
เกี่ยวกับเรา
เมนูหลักภายในเว็บไซต์
  ข้อมูลโครงการ
ทีมงาน
ติดต่อเรา
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
ช่วยเหลือ
  กฏกติกาและมารยาท
แบบสอบถาม
คำถามที่พบบ่อย


ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) เลขที่ 20 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 10170 
Tel. +66 2 8809429 | Fax. +66 2 8809332 | E-mail. webmaster@sac.or.th 
สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2549    |   เงื่อนไขและข้อตกลง