สมัครสมาชิก   
| |
ค้นหาข้อมูล
ค้นหาแบบละเอียด
  •   ความเป็นมาและหลักเหตุผล

    เพื่อรวบรวมงานวิจัยทางชาติพันธุ์ที่มีคุณภาพมาสกัดสาระสำคัญในเชิงมานุษยวิทยาและเผยแผ่สาระงานวิจัยแก่นักวิชาการ นักศึกษานักเรียนและผู้สนใจให้เข้าถึงงานวิจัยทางชาติพันธุ์ได้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น

  •   ฐานข้อมูลจำแนกกลุ่มชาติพันธุ์ตามชื่อเรียกที่คนในใช้เรียกตนเอง ด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้ คือ

    1. ชื่อเรียกที่ “คนอื่น” ใช้มักเป็นชื่อที่มีนัยในทางเหยียดหยาม ทำให้สมาชิกกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ รู้สึกไม่ดี อยากจะใช้ชื่อที่เรียกตนเองมากกว่า ซึ่งคณะทำงานมองว่าน่าจะเป็น “สิทธิพื้นฐาน” ของการเป็นมนุษย์

    2. ชื่อเรียกชาติพันธุ์ของตนเองมีความชัดเจนว่าหมายถึงใคร มีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมอย่างไร และตั้งถิ่นฐานอยู่แห่งใดมากกว่าชื่อที่คนอื่นเรียก ซึ่งมักจะมีความหมายเลื่อนลอย ไม่แน่ชัดว่าหมายถึงใคร 

     

    ภาพ-เยาวชนปกาเกอะญอ บ้านมอวาคี จ.เชียงใหม่

  •  

    จากการรวบรวมงานวิจัยในฐานข้อมูลและหลักการจำแนกชื่อเรียกชาติพันธุ์ที่คนในใช้เรียกตนเอง พบว่า ประเทศไทยมีกลุ่มชาติพันธุ์มากกว่า 62 กลุ่ม


    ภาพ-สุภาษิตปกาเกอะญอ
  •   การจำแนกกลุ่มชนมีลักษณะพิเศษกว่าการจำแนกสรรพสิ่งอื่นๆ

    เพราะกลุ่มชนต่างๆ มีความรู้สึกนึกคิดและภาษาที่จะแสดงออกมาได้ว่า “คิดหรือรู้สึกว่าตัวเองเป็นใคร” ซึ่งการจำแนกตนเองนี้ อาจแตกต่างไปจากที่คนนอกจำแนกให้ ในการศึกษาเรื่องนี้นักมานุษยวิทยาจึงต้องเพิ่มมุมมองเรื่องจิตสำนึกและชื่อเรียกตัวเองของคนในกลุ่มชาติพันธุ์ 

    ภาพ-สลากย้อม งานบุญของยอง จ.ลำพูน
  •   มโนทัศน์ความหมายกลุ่มชาติพันธุ์มีการเปลี่ยนแปลงในช่วงเวลาต่างๆ กัน

    ในช่วงทศวรรษของ 2490-2510 ในสาขาวิชามานุษยวิทยา “กลุ่มชาติพันธุ์” คือ กลุ่มชนที่มีวัฒนธรรมเฉพาะแตกต่างจากกลุ่มชนอื่นๆ ซึ่งมักจะเป็นการกำหนดในเชิงวัตถุวิสัย โดยนักมานุษยวิทยาซึ่งสนใจในเรื่องมนุษย์และวัฒนธรรม

    แต่ความหมายของ “กลุ่มชาติพันธุ์” ในช่วงหลังทศวรรษ 
    2510 ได้เน้นไปที่จิตสำนึกในการจำแนกชาติพันธุ์บนพื้นฐานของความแตกต่างทางวัฒนธรรมโดยตัวสมาชิกชาติพันธุ์แต่ละกลุ่มเป็นสำคัญ... (อ่านเพิ่มใน เกี่ยวกับโครงการ/คู่มือการใช้)


    ภาพ-หาดราไวย์ จ.ภูเก็ต บ้านของอูรักลาโว้ย
  •   สนุก

    วิชาคอมพิวเตอร์ของนักเรียน
    ปกาเกอะญอ  อ. แม่ลาน้อย
    จ. แม่ฮ่องสอน


    ภาพโดย อาทิตย์    ทองดุศรี

  •   ข้าวไร่

    ผลิตผลจากไร่หมุนเวียน
    ของชาวโผล่ว (กะเหรี่ยงโปว์)   
    ต. ไล่โว่    อ.สังขละบุรี  
    จ. กาญจนบุรี

  •   ด้าย

    แม่บ้านปกาเกอะญอ
    เตรียมด้ายทอผ้า
    หินลาดใน  จ. เชียงราย

    ภาพโดย เพ็ญรุ่ง สุริยกานต์
  •   ถั่วเน่า

    อาหารและเครื่องปรุงหลัก
    ของคนไต(ไทใหญ่)
    จ.แม่ฮ่องสอน

     ภาพโดย เพ็ญรุ่ง สุริยกานต์
  •   ผู้หญิง

    โผล่ว(กะเหรี่ยงโปว์)
    บ้านไล่โว่ 
    อ.สังขละบุรี
    จ. กาญจนบุรี

    ภาพโดย ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ
  •   บุญ

    ประเพณีบุญข้าวใหม่
    ชาวโผล่ว    ต. ไล่โว่
    อ.สังขละบุรี  จ.กาญจนบุรี

    ภาพโดยศรยุทธ  เอี่ยมเอื้อยุทธ

  •   ปอยส่างลอง แม่ฮ่องสอน

    บรรพชาสามเณร
    งานบุญยิ่งใหญ่ของคนไต
    จ.แม่ฮ่องสอน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ปอยส่างลอง

    บรรพชาสามเณร
    งานบุญยิ่งใหญ่ของคนไต
    จ.แม่ฮ่องสอน

    ภาพโดย เบญจพล  วรรณถนอม
  •   อลอง

    จากพุทธประวัติ เจ้าชายสิทธัตถะ
    ทรงละทิ้งทรัพย์ศฤงคารเข้าสู่
    ร่มกาสาวพัสตร์เพื่อแสวงหา
    มรรคผลนิพพาน


    ภาพโดย  ดอกรัก  พยัคศรี

  •   สามเณร

    จากส่างลองสู่สามเณร
    บวชเรียนพระธรรมภาคฤดูร้อน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   พระพาราละแข่ง วัดหัวเวียง จ. แม่ฮ่องสอน

    หล่อจำลองจาก “พระมหามุนี” 
    ณ เมืองมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า
    ชาวแม่ฮ่องสอนถือว่าเป็นพระพุทธรูป
    คู่บ้านคู่เมืององค์หนึ่ง

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม

  •   เมตตา

    จิตรกรรมพุทธประวัติศิลปะไต
    วัดจองคำ-จองกลาง
    จ. แม่ฮ่องสอน
  •   วัดจองคำ-จองกลาง จ. แม่ฮ่องสอน


    เสมือนสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรม
    เมืองไตแม่ฮ่องสอน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ใส

    ม้งวัยเยาว์ ณ บ้านกิ่วกาญจน์
    ต. ริมโขง อ. เชียงของ
    จ. เชียงราย
  •   ยิ้ม

    แม้ชาวเลจะประสบปัญหาเรื่องที่อยู่อาศัย
    พื้นที่ทำประมง  แต่ด้วยความหวัง....
    ทำให้วันนี้ยังยิ้มได้

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ผสมผสาน

    อาภรณ์ผสานผสมระหว่างผ้าทอปกาเกอญอกับเสื้อยืดจากสังคมเมือง
    บ้านแม่ลาน้อย จ. แม่ฮ่องสอน
    ภาพโดย อาทิตย์ ทองดุศรี
  •   เกาะหลีเป๊ะ จ. สตูล

    แผนที่ในเกาะหลีเป๊ะ 
    ถิ่นเดิมของชาวเลที่ ณ วันนี้
    ถูกโอบล้อมด้วยรีสอร์ทการท่องเที่ยว
  •   ตะวันรุ่งที่ไล่โว่ จ. กาญจนบุรี

    ไล่โว่ หรือที่แปลเป็นภาษาไทยว่า ผาหินแดง เป็นชุมชนคนโผล่งที่แวดล้อมด้วยขุนเขาและผืนป่า 
    อาณาเขตของตำบลไล่โว่เป็นส่วนหนึ่งของป่าทุ่งใหญ่นเรศวรแถบอำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี 

    ภาพโดย ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ
  •   การแข่งขันยิงหน้าไม้ของอาข่า

    การแข่งขันยิงหน้าไม้ในเทศกาลโล้ชิงช้าของอาข่า ในวันที่ 13 กันยายน 2554 ที่บ้านสามแยกอีก้อ อ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย
 
  Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre
Ethnic Groups Research Database
154 results found. Sorted by date | title

  Author Title Source Year
121. ระวีวรรณ ชอุ่มพฤษ์ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมของบ้านทิวสน ระหว่างปี 1950 -1990 วารสาร (รูสมิและ ปีที่ 16 ฉบับที่1-2มกราคม-สิงหาคม 2538, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี) 2538
122. คณะนักวิจัยประกอบด้วยนักวิชาการ นักพัฒนาเอกชนและชาวประมง บทบาทของชุมชนชาวประมงพื้นบ้านในการจัดการทรัพยากรชายฝั่งและการบังคับใช้กฏหมายในพื้นที่รอบอ่าวปัตตานี ศึกษากรณี : บ้านตันหยงเปาว์ หมู่ที่ 4 ต.ท่ากำซำ อ.หนองจิก จ.ปัตตานี สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) 2543
123. วสันต์ ชีวะสาธน์ สถาปัตยกรรมทางศาสนาของชุมชนชาวไทยมุสลิมในจังหวัดปัตตานี กองทุนวิจัยและพัฒนาของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2544
124. สมพงษ์ ปานเกล้า นโยบายการจัดการศึกษาของรัฐในชุมชนไทยมุสลิมจังหวัดชายแดนภาคใต้ (พ.ศ.2475-2535) หลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2541
125. สถาพร ชุมอุปการ ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของชาวไทยมุสลิมในการพัฒนาชุมชน ในจังหวัดอ่างทอง หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2537
126. Ryoko Nishii A Consideration on Cultural Management in a Changing Society of Muslim-Buddhist Co-residence on the West Cost of Southern Thailand ไม่ระบุ 2537
127. วัฒนา สุกัณศิล สภาพเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของชุมชนประมงรอบอ่าวปัตตานี : การเปลี่ยนแปลงปัญหาและการปรับตัว ศูนย์วิจัยมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี 2544
128. อเนก สนามชัย ศาสนากับการพัฒนา : ศึกษาวิเคราะห์ความร่วมมือระหว่างชาวไทยพุทธ และชาวไทยมุสลิมในการพัฒนาหมู่บ้านนาใต้ ตำบลโคกกลอย อำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล 2530
129. สุธี เทพสุริวงค์ วิถีและพลังของลิเกฮูลูในจังหวัดปัตตานี สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี 2546
130. Raymond Scupin Islamic Reformism in Thailand Journal of Siam Society Vol. 68 Part 2 2523
131. ศิริเพ็ญ ศุภกาญจนกันติ และคณะ การศึกษาการส่งเสริมสุขภาพของชาวมุสลิมในประเทศไทย แผนงานสร้างเสริมสุขภาวะมุสลิมไทยได้รับการสนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ และศูนย์เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ : ศูนย์เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548
132. Suthiwong Pongphaibun (สุทธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์) Ties of Brotherhood: Cultural Roots of Southern Thailand and Northern Malaysia Suthiwong Pongphaibun . “Ties of Brotherhood: Cultural Roots of Southern Thailand and Northern Malaysia” in A Plural Peninsula: Historical Interactions among the Thai, Malays, Chinese and Others (Workshop Proceedings at Walailak University, Nakorn Sri Thammarat, 5 – 7 February 2004) : 52 – 64. 2547
133. กองวิจัยการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี การศึกษาเพื่อแสวงหาแนวทางการจัดการศึกษาสำหรับชาวไทยต่างวัฒนธรรม กองวิจัยการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี 2531
134. นราวดี พันธุ์นรา การศึกษาคำศัพท์เกี่ยวกับพฤติกรรมการกินของชาวไทยมุสลิม จังหวัดนราธิวาส A STUDY OF THE VOCABULARY CONCERNING EATING HABITS AMONG THE MUSLIMS IN NARATHIWAT PROVINCE หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล 2536
135. มูฮัมหมาด ยังหะสัน วาทกรรมว่าด้วยการพัฒนาระหว่างรัฐกับประชาชน: กรณีศึกษาหมู่บ้านแห่งหนึ่งในจังหวัดชายแดนภาคใต้ วิทยานิพนธ์ รัฐศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการเมืองและการปกครอง,บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2547
136. อนุสรณ์ เมฆบุตร, ว่าที่ร้อยตรี การบูรณาการกลุ่มชาติพันธุ์ในรัฐพหุสังคม: กรณีศึกษากลุ่มชาติพันธุ์สยามในรัฐเคดาห์ ประเทศมาเลเซีย วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภูมิภาคศึกษา,บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่,195 หน้า 2549
137. ธีรนันท์ ช่วงพิชิต พิธีเจ้าเซ็น(อาชูรอ): อัตลักษณ์และการธำรงชาติพันธุ์ของมุสลิมนิกายชีอะห์ในสังคมไทย ธีรนันท์ ช่วงพิชิต .2551.“พิธีเจ้าเซ็น(อาชูรอ):อัตลักษณ์และการธำรงชาติพันธุ์ของมุสลิมนิกายชีอะห์ในสังคมไทย”.ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชามานุษยวิทยา.มหาวิทยาลัยศิลปากร.272 หน้า. 2551
138. มะอีซอ โซะมะตะ, สะแม ซิมา, งามพล จะปะกิยา, มะดามิง อารียู, และอับดุลย์ลาเต๊ะ สาและ การเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศวัฒนธรรม ในเขตเชิงเขาบูโด-สันการาคีรี กรณีศึกษาบริเวณบ้านตะโหนดอำเภอรือเสาะและอำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส โครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อศึกษาท้องถิ่นในสามจังหวัดภาคใต้ (ส่วนหนึ่งในโครงการแผนงานร่วมศึกษาหาความจริง เสริมสร้างสุขภาวะ กรณี 3 จังหวัดภาคใต้ คณะทำงานวาระทางสังคม คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) 2549
139. นิเด๊าะฮิแตแล, สูวารียะ แปเฮาะฮิเล, มารีแย มามะ, ทรัยนุง มะเด็ง, สุวภัทร วัฒนกุล, อนุวัฒน์ ปารามะ, อับดุลเร๊าะมัน บาดา, และจรัส โกสุมภวรรณ จากยาลอสู่ยะลา: การเปลี่ยนแปลงในรอบศตวรรษ โครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อศึกษาท้องถิ่นในสามจังหวัดภาคใต้ (ส่วนหนึ่งในโครงการแผนงานร่วมศึกษาหาความจริง เสริมสร้างสุขภาวะ กรณี 3 จังหวัดภาคใต้ คณะทำงานวาระทางสังคม คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) 2549
140. จีรศักดิ์ โสะสัน กระบวนการสร้างชุมชนมุสลิมในพหุสังคมอีสาน มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2550

 

ฐานข้อมูลอื่นๆของศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
  ฐานข้อมูลพิพิธภัณฑ์ในประเทศไทย
จารึกในประเทศไทย
จดหมายเหตุทางมานุษยวิทยา
แหล่งโบราณคดีที่สำคัญในประเทศไทย
หนังสือเก่าชาวสยาม
ข่าวมานุษยวิทยา
ICH Learning Resources
ฐานข้อมูลเอกสารโบราณภูมิภาคตะวันตกในประเทศไทย
ฐานข้อมูลประเพณีท้องถิ่นในประเทศไทย
ฐานข้อมูลสังคม - วัฒนธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เมนูหลักภายในเว็บไซต์
  หน้าหลัก
งานวิจัยชาติพันธุ์ในประเทศไทย
บทความชาติพันธุ์
ข่าวชาติพันธุ์
เครือข่ายชาติพันธุ์
เกี่ยวกับเรา
เมนูหลักภายในเว็บไซต์
  ข้อมูลโครงการ
ทีมงาน
ติดต่อเรา
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
ช่วยเหลือ
  กฏกติกาและมารยาท
แบบสอบถาม
คำถามที่พบบ่อย


ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) เลขที่ 20 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 10170 
Tel. +66 2 8809429 | Fax. +66 2 8809332 | E-mail. webmaster@sac.or.th 
สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2549    |   เงื่อนไขและข้อตกลง