สมัครสมาชิก   
| |
ค้นหาข้อมูล
ค้นหาแบบละเอียด
  •   ความเป็นมาและหลักเหตุผล

    เพื่อรวบรวมงานวิจัยทางชาติพันธุ์ที่มีคุณภาพมาสกัดสาระสำคัญในเชิงมานุษยวิทยาและเผยแผ่สาระงานวิจัยแก่นักวิชาการ นักศึกษานักเรียนและผู้สนใจให้เข้าถึงงานวิจัยทางชาติพันธุ์ได้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น

  •   ฐานข้อมูลจำแนกกลุ่มชาติพันธุ์ตามชื่อเรียกที่คนในใช้เรียกตนเอง ด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้ คือ

    1. ชื่อเรียกที่ “คนอื่น” ใช้มักเป็นชื่อที่มีนัยในทางเหยียดหยาม ทำให้สมาชิกกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ รู้สึกไม่ดี อยากจะใช้ชื่อที่เรียกตนเองมากกว่า ซึ่งคณะทำงานมองว่าน่าจะเป็น “สิทธิพื้นฐาน” ของการเป็นมนุษย์

    2. ชื่อเรียกชาติพันธุ์ของตนเองมีความชัดเจนว่าหมายถึงใคร มีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมอย่างไร และตั้งถิ่นฐานอยู่แห่งใดมากกว่าชื่อที่คนอื่นเรียก ซึ่งมักจะมีความหมายเลื่อนลอย ไม่แน่ชัดว่าหมายถึงใคร 

     

    ภาพ-เยาวชนปกาเกอะญอ บ้านมอวาคี จ.เชียงใหม่

  •  

    จากการรวบรวมงานวิจัยในฐานข้อมูลและหลักการจำแนกชื่อเรียกชาติพันธุ์ที่คนในใช้เรียกตนเอง พบว่า ประเทศไทยมีกลุ่มชาติพันธุ์มากกว่า 62 กลุ่ม


    ภาพ-สุภาษิตปกาเกอะญอ
  •   การจำแนกกลุ่มชนมีลักษณะพิเศษกว่าการจำแนกสรรพสิ่งอื่นๆ

    เพราะกลุ่มชนต่างๆ มีความรู้สึกนึกคิดและภาษาที่จะแสดงออกมาได้ว่า “คิดหรือรู้สึกว่าตัวเองเป็นใคร” ซึ่งการจำแนกตนเองนี้ อาจแตกต่างไปจากที่คนนอกจำแนกให้ ในการศึกษาเรื่องนี้นักมานุษยวิทยาจึงต้องเพิ่มมุมมองเรื่องจิตสำนึกและชื่อเรียกตัวเองของคนในกลุ่มชาติพันธุ์ 

    ภาพ-สลากย้อม งานบุญของยอง จ.ลำพูน
  •   มโนทัศน์ความหมายกลุ่มชาติพันธุ์มีการเปลี่ยนแปลงในช่วงเวลาต่างๆ กัน

    ในช่วงทศวรรษของ 2490-2510 ในสาขาวิชามานุษยวิทยา “กลุ่มชาติพันธุ์” คือ กลุ่มชนที่มีวัฒนธรรมเฉพาะแตกต่างจากกลุ่มชนอื่นๆ ซึ่งมักจะเป็นการกำหนดในเชิงวัตถุวิสัย โดยนักมานุษยวิทยาซึ่งสนใจในเรื่องมนุษย์และวัฒนธรรม

    แต่ความหมายของ “กลุ่มชาติพันธุ์” ในช่วงหลังทศวรรษ 
    2510 ได้เน้นไปที่จิตสำนึกในการจำแนกชาติพันธุ์บนพื้นฐานของความแตกต่างทางวัฒนธรรมโดยตัวสมาชิกชาติพันธุ์แต่ละกลุ่มเป็นสำคัญ... (อ่านเพิ่มใน เกี่ยวกับโครงการ/คู่มือการใช้)


    ภาพ-หาดราไวย์ จ.ภูเก็ต บ้านของอูรักลาโว้ย
  •   สนุก

    วิชาคอมพิวเตอร์ของนักเรียน
    ปกาเกอะญอ  อ. แม่ลาน้อย
    จ. แม่ฮ่องสอน


    ภาพโดย อาทิตย์    ทองดุศรี

  •   ข้าวไร่

    ผลิตผลจากไร่หมุนเวียน
    ของชาวโผล่ว (กะเหรี่ยงโปว์)   
    ต. ไล่โว่    อ.สังขละบุรี  
    จ. กาญจนบุรี

  •   ด้าย

    แม่บ้านปกาเกอะญอ
    เตรียมด้ายทอผ้า
    หินลาดใน  จ. เชียงราย

    ภาพโดย เพ็ญรุ่ง สุริยกานต์
  •   ถั่วเน่า

    อาหารและเครื่องปรุงหลัก
    ของคนไต(ไทใหญ่)
    จ.แม่ฮ่องสอน

     ภาพโดย เพ็ญรุ่ง สุริยกานต์
  •   ผู้หญิง

    โผล่ว(กะเหรี่ยงโปว์)
    บ้านไล่โว่ 
    อ.สังขละบุรี
    จ. กาญจนบุรี

    ภาพโดย ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ
  •   บุญ

    ประเพณีบุญข้าวใหม่
    ชาวโผล่ว    ต. ไล่โว่
    อ.สังขละบุรี  จ.กาญจนบุรี

    ภาพโดยศรยุทธ  เอี่ยมเอื้อยุทธ

  •   ปอยส่างลอง แม่ฮ่องสอน

    บรรพชาสามเณร
    งานบุญยิ่งใหญ่ของคนไต
    จ.แม่ฮ่องสอน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ปอยส่างลอง

    บรรพชาสามเณร
    งานบุญยิ่งใหญ่ของคนไต
    จ.แม่ฮ่องสอน

    ภาพโดย เบญจพล  วรรณถนอม
  •   อลอง

    จากพุทธประวัติ เจ้าชายสิทธัตถะ
    ทรงละทิ้งทรัพย์ศฤงคารเข้าสู่
    ร่มกาสาวพัสตร์เพื่อแสวงหา
    มรรคผลนิพพาน


    ภาพโดย  ดอกรัก  พยัคศรี

  •   สามเณร

    จากส่างลองสู่สามเณร
    บวชเรียนพระธรรมภาคฤดูร้อน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   พระพาราละแข่ง วัดหัวเวียง จ. แม่ฮ่องสอน

    หล่อจำลองจาก “พระมหามุนี” 
    ณ เมืองมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า
    ชาวแม่ฮ่องสอนถือว่าเป็นพระพุทธรูป
    คู่บ้านคู่เมืององค์หนึ่ง

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม

  •   เมตตา

    จิตรกรรมพุทธประวัติศิลปะไต
    วัดจองคำ-จองกลาง
    จ. แม่ฮ่องสอน
  •   วัดจองคำ-จองกลาง จ. แม่ฮ่องสอน


    เสมือนสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรม
    เมืองไตแม่ฮ่องสอน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ใส

    ม้งวัยเยาว์ ณ บ้านกิ่วกาญจน์
    ต. ริมโขง อ. เชียงของ
    จ. เชียงราย
  •   ยิ้ม

    แม้ชาวเลจะประสบปัญหาเรื่องที่อยู่อาศัย
    พื้นที่ทำประมง  แต่ด้วยความหวัง....
    ทำให้วันนี้ยังยิ้มได้

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ผสมผสาน

    อาภรณ์ผสานผสมระหว่างผ้าทอปกาเกอญอกับเสื้อยืดจากสังคมเมือง
    บ้านแม่ลาน้อย จ. แม่ฮ่องสอน
    ภาพโดย อาทิตย์ ทองดุศรี
  •   เกาะหลีเป๊ะ จ. สตูล

    แผนที่ในเกาะหลีเป๊ะ 
    ถิ่นเดิมของชาวเลที่ ณ วันนี้
    ถูกโอบล้อมด้วยรีสอร์ทการท่องเที่ยว
  •   ตะวันรุ่งที่ไล่โว่ จ. กาญจนบุรี

    ไล่โว่ หรือที่แปลเป็นภาษาไทยว่า ผาหินแดง เป็นชุมชนคนโผล่งที่แวดล้อมด้วยขุนเขาและผืนป่า 
    อาณาเขตของตำบลไล่โว่เป็นส่วนหนึ่งของป่าทุ่งใหญ่นเรศวรแถบอำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี 

    ภาพโดย ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ
  •   การแข่งขันยิงหน้าไม้ของอาข่า

    การแข่งขันยิงหน้าไม้ในเทศกาลโล้ชิงช้าของอาข่า ในวันที่ 13 กันยายน 2554 ที่บ้านสามแยกอีก้อ อ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย
 
  Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre
Ethnic Groups Research Database
85 results found. Sorted by date | title

  Author Title Source Year
61. มนตรี นามมงคล, อุบล หมุดธรรม, เพชรา ปาสรานันท์ การสำรวจภาวะสุขภาพจิตชาวไทยภูเขา ศูนย์สุขภาพจิตเขต 10 จังหวัดเชียงใหม่ 2542
62. Fink , Lammert, Christina Imposing Communities: Pwo Karen Experiences in Northern Thailand Graduate Division of the University of California at Berekley 2537
63. Roland Platz Buddhism and Christianity in Competition? : Religious and Ethnic Identity in Karen Communities of Northern Thailand Journal of Southeast Asian Studies, 34 (3), pp437-790 October 2003, The University of Singapore 2546
64. ธีรวรรณ สมะพันธุ เรือนกะเหรี่ยงโปว์ หมู่บ้านแม่จ๊าง หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง ภาควิชาศิลปสถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร 2520
65. ศิขริน เอกะวิภาต พฤติกรรมการเปิดรับสื่อ ความต้องการใช้ประโยชน์จากสื่อและรูปแบบการดำเนินชีวิตของชนชาติกะเหรี่ยงบ้านคา จังหวัดราชบุรี หลักสูตรปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ 2546
66. ฐนันดร์ศักดิ์ เวียงสารวิน,ว่าที่ ร.ต. “จู่ต่าเอาะ” : ความเชื่อเกี่ยวกับอาหารและพฤติกรรมการบริโภคของชาวกะเหรี่ยง: ศึกษากรณีชุมชนบ้านกล้วย อ.ด่านช้าง จ.สุพรรณบุรี หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชามานุษยวิทยา ภาควิชามานุษยวิทยา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร 2533
67. ชมพูนุท โพธิ์ทองคำ การตั้งชื่อของชาวกะเหรี่ยงโปตำบลสวนผึ้ง อำเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี วิทยานิพนธ์ตามหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์ 2541
68. สารณีย์ ไทยานันท์ และนิภา ลาชโรจน์ กลุ่มชาติพันธุ์บนพื้นที่สูง การรักษาเยียวยา ผู้คน ชุมชน และสภาพสิ่งแวดล้อม(กะเหรี่ยง) สถาบันวิจัยชาวเขา ปีที่ 20 ฉบับที่1/2545 กรมประชาสงเคราห์ กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม 2545
69. สมาน รวยสูงเนิน การสำรวจการใช้ไม้ฟืนของชาวเขาเผ่าต่างๆ ฝ่ายวิจัย กองอนุรักษ์ต้นน้ำ กรมป่าไม้ 2523
70. จีระวรรณ์ บรรเทาทุกข์ การรับมือกับปัญหา การเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อม มิติหญิงชาย กะเหรี่ยง วาทกรรมชายขอบ คนชายขอบทางสังคม หลักสูตรมานุษยวิทยามหาบัณฑิต สาขาวิชามานุษยวิทยา ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2547
71. Saowaphak Suksinchai การแท้งบุตรในหมู่อพยพ - กรณีศึกษาของสตรีกะเหรี่ยงในจังหวัดตาก Master of Arts (Population and Reproductive Health Research) Faculty of Graduate Studies Mahidol University 2542
72. เมธวี ศรีคำมูล X-, Y- Chromosomal and Mitochondrial DNA variations of the Karen, Hmong and Iu Mien in the Upper Northern Part of Thailand วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาชีววิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2548
73. Chotiboriboon,Sinee . Tamachotipong,Sopa . Sirisai,Solot . Dhanamitta,Sakorn . Smitasiri,Suttilak . Sappasuwan,Charana . Tantivatanasathien,Praiwan . Eg-Kantrong,Pasamai . Thailand : food system and nutritional status of indigenous children in a Karen community Chotiboriboon,Sinee et al. “Thailand : food system and nutritional status of indigenous children in a Karen community” in Indigenous Peoples’ food systems. Page 159-183. -
74. Ken Manson The subgrouping of Karen Ken Manson. “The subgrouping of Karen” Journal of the Southeast Asian Linguistic Society. พฤษภาคม 2554 2554
75. เฉลิมศักดิ์ แหงมงาม แรงงานต่างชาติ : ศึกษากรณีกะเหรี่ยงหลบหนีเข้าเมือง อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก เฉลิมศักดิ์ แหงมงาม. ปัญหาแรงงานต่างชาติ : ศึกษากรณีกะเหรี่ยงหลบหนีเข้าเมือง อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก.บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2535. 2535
76. Jian Hu, Chai Podhisita Differential Utilization of Health Care Services among Ethnic Groups on the Thailand-Myanmar Border: A case study of Kanchanaburi Province, Thailand Hu, Jian and Podhisita, Chai. “Differential Utilization of Health Care Services among Ethnic Groups on the Thailand-Myanmar Border: A case study of Kanchanaburi Province, Thailand” Journal of Population and Social Studies. ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 : 115-134; กรกฎาคม 2551. 2551
77. Chumpol Maniratanavongsiri People and protected areas : Impact and resistance among the Pgak’nyau (Karen) in Thailand Chumpol Maniratanavongsiri. (2542). People and protected areas : Impact and resistance among the Pgak’nyau (Karen) in Thailand. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยโตรอนโต. 2542
78. ไพบูลย์ เฮงสุวรรณ ชีวิตบนรอยตะเข็บ: การต่อรองสนามชายแดนของการพัฒนาและการจัดการทรัพยากรตามแนวแม่น้ำสาละวิน Paiboon Hengsuwn. In-between lives: Negotiating Bordered Terrains of Development and Resource Management along Salween River. Research Report. The Graduate School in Social Science Department, Chiangmai University. 2012. 2555
79. บัณฑิต ไกรวิจิตร การเผชิญกับภาพแทนของกะเหรี่ยงโผล่ว ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร ดุษฎีนิพนธ์หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (สหวิทยาการ) วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2559
80. ไพสิฐ พาณิชย์กุล รายงานฉบับสมบูรณ์สิทธิของชุมชนกะเหรี่ยง (ปกาเกอะญอ) กับการดำเนินเขตวัฒนธรรมพิเศษไร่หมุนเวียนในพื้นที่ยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาข้อพิพาทกรณีที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัยของชุมชนกะเหรี่ยงในพื้นที่ป่าภาคเหนือ สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ 2560

 

ฐานข้อมูลอื่นๆของศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
  ฐานข้อมูลพิพิธภัณฑ์ในประเทศไทย
จารึกในประเทศไทย
จดหมายเหตุทางมานุษยวิทยา
แหล่งโบราณคดีที่สำคัญในประเทศไทย
หนังสือเก่าชาวสยาม
ข่าวมานุษยวิทยา
ICH Learning Resources
ฐานข้อมูลเอกสารโบราณภูมิภาคตะวันตกในประเทศไทย
ฐานข้อมูลประเพณีท้องถิ่นในประเทศไทย
ฐานข้อมูลสังคม - วัฒนธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เมนูหลักภายในเว็บไซต์
  หน้าหลัก
งานวิจัยชาติพันธุ์ในประเทศไทย
บทความชาติพันธุ์
ข่าวชาติพันธุ์
เครือข่ายชาติพันธุ์
เกี่ยวกับเรา
เมนูหลักภายในเว็บไซต์
  ข้อมูลโครงการ
ทีมงาน
ติดต่อเรา
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
ช่วยเหลือ
  กฏกติกาและมารยาท
แบบสอบถาม
คำถามที่พบบ่อย


ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) เลขที่ 20 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 10170 
Tel. +66 2 8809429 | Fax. +66 2 8809332 | E-mail. webmaster@sac.or.th 
สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2549    |   เงื่อนไขและข้อตกลง