สมัครสมาชิก   
| |
ค้นหาข้อมูล
ค้นหาแบบละเอียด
  •   ความเป็นมาและหลักเหตุผล

    เพื่อรวบรวมงานวิจัยทางชาติพันธุ์ที่มีคุณภาพมาสกัดสาระสำคัญในเชิงมานุษยวิทยาและเผยแผ่สาระงานวิจัยแก่นักวิชาการ นักศึกษานักเรียนและผู้สนใจให้เข้าถึงงานวิจัยทางชาติพันธุ์ได้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น

  •   ฐานข้อมูลจำแนกกลุ่มชาติพันธุ์ตามชื่อเรียกที่คนในใช้เรียกตนเอง ด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้ คือ

    1. ชื่อเรียกที่ “คนอื่น” ใช้มักเป็นชื่อที่มีนัยในทางเหยียดหยาม ทำให้สมาชิกกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ รู้สึกไม่ดี อยากจะใช้ชื่อที่เรียกตนเองมากกว่า ซึ่งคณะทำงานมองว่าน่าจะเป็น “สิทธิพื้นฐาน” ของการเป็นมนุษย์

    2. ชื่อเรียกชาติพันธุ์ของตนเองมีความชัดเจนว่าหมายถึงใคร มีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมอย่างไร และตั้งถิ่นฐานอยู่แห่งใดมากกว่าชื่อที่คนอื่นเรียก ซึ่งมักจะมีความหมายเลื่อนลอย ไม่แน่ชัดว่าหมายถึงใคร 

     

    ภาพ-เยาวชนปกาเกอะญอ บ้านมอวาคี จ.เชียงใหม่

  •  

    จากการรวบรวมงานวิจัยในฐานข้อมูลและหลักการจำแนกชื่อเรียกชาติพันธุ์ที่คนในใช้เรียกตนเอง พบว่า ประเทศไทยมีกลุ่มชาติพันธุ์มากกว่า 62 กลุ่ม


    ภาพ-สุภาษิตปกาเกอะญอ
  •   การจำแนกกลุ่มชนมีลักษณะพิเศษกว่าการจำแนกสรรพสิ่งอื่นๆ

    เพราะกลุ่มชนต่างๆ มีความรู้สึกนึกคิดและภาษาที่จะแสดงออกมาได้ว่า “คิดหรือรู้สึกว่าตัวเองเป็นใคร” ซึ่งการจำแนกตนเองนี้ อาจแตกต่างไปจากที่คนนอกจำแนกให้ ในการศึกษาเรื่องนี้นักมานุษยวิทยาจึงต้องเพิ่มมุมมองเรื่องจิตสำนึกและชื่อเรียกตัวเองของคนในกลุ่มชาติพันธุ์ 

    ภาพ-สลากย้อม งานบุญของยอง จ.ลำพูน
  •   มโนทัศน์ความหมายกลุ่มชาติพันธุ์มีการเปลี่ยนแปลงในช่วงเวลาต่างๆ กัน

    ในช่วงทศวรรษของ 2490-2510 ในสาขาวิชามานุษยวิทยา “กลุ่มชาติพันธุ์” คือ กลุ่มชนที่มีวัฒนธรรมเฉพาะแตกต่างจากกลุ่มชนอื่นๆ ซึ่งมักจะเป็นการกำหนดในเชิงวัตถุวิสัย โดยนักมานุษยวิทยาซึ่งสนใจในเรื่องมนุษย์และวัฒนธรรม

    แต่ความหมายของ “กลุ่มชาติพันธุ์” ในช่วงหลังทศวรรษ 
    2510 ได้เน้นไปที่จิตสำนึกในการจำแนกชาติพันธุ์บนพื้นฐานของความแตกต่างทางวัฒนธรรมโดยตัวสมาชิกชาติพันธุ์แต่ละกลุ่มเป็นสำคัญ... (อ่านเพิ่มใน เกี่ยวกับโครงการ/คู่มือการใช้)


    ภาพ-หาดราไวย์ จ.ภูเก็ต บ้านของอูรักลาโว้ย
  •   สนุก

    วิชาคอมพิวเตอร์ของนักเรียน
    ปกาเกอะญอ  อ. แม่ลาน้อย
    จ. แม่ฮ่องสอน


    ภาพโดย อาทิตย์    ทองดุศรี

  •   ข้าวไร่

    ผลิตผลจากไร่หมุนเวียน
    ของชาวโผล่ว (กะเหรี่ยงโปว์)   
    ต. ไล่โว่    อ.สังขละบุรี  
    จ. กาญจนบุรี

  •   ด้าย

    แม่บ้านปกาเกอะญอ
    เตรียมด้ายทอผ้า
    หินลาดใน  จ. เชียงราย

    ภาพโดย เพ็ญรุ่ง สุริยกานต์
  •   ถั่วเน่า

    อาหารและเครื่องปรุงหลัก
    ของคนไต(ไทใหญ่)
    จ.แม่ฮ่องสอน

     ภาพโดย เพ็ญรุ่ง สุริยกานต์
  •   ผู้หญิง

    โผล่ว(กะเหรี่ยงโปว์)
    บ้านไล่โว่ 
    อ.สังขละบุรี
    จ. กาญจนบุรี

    ภาพโดย ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ
  •   บุญ

    ประเพณีบุญข้าวใหม่
    ชาวโผล่ว    ต. ไล่โว่
    อ.สังขละบุรี  จ.กาญจนบุรี

    ภาพโดยศรยุทธ  เอี่ยมเอื้อยุทธ

  •   ปอยส่างลอง แม่ฮ่องสอน

    บรรพชาสามเณร
    งานบุญยิ่งใหญ่ของคนไต
    จ.แม่ฮ่องสอน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ปอยส่างลอง

    บรรพชาสามเณร
    งานบุญยิ่งใหญ่ของคนไต
    จ.แม่ฮ่องสอน

    ภาพโดย เบญจพล  วรรณถนอม
  •   อลอง

    จากพุทธประวัติ เจ้าชายสิทธัตถะ
    ทรงละทิ้งทรัพย์ศฤงคารเข้าสู่
    ร่มกาสาวพัสตร์เพื่อแสวงหา
    มรรคผลนิพพาน


    ภาพโดย  ดอกรัก  พยัคศรี

  •   สามเณร

    จากส่างลองสู่สามเณร
    บวชเรียนพระธรรมภาคฤดูร้อน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   พระพาราละแข่ง วัดหัวเวียง จ. แม่ฮ่องสอน

    หล่อจำลองจาก “พระมหามุนี” 
    ณ เมืองมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า
    ชาวแม่ฮ่องสอนถือว่าเป็นพระพุทธรูป
    คู่บ้านคู่เมืององค์หนึ่ง

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม

  •   เมตตา

    จิตรกรรมพุทธประวัติศิลปะไต
    วัดจองคำ-จองกลาง
    จ. แม่ฮ่องสอน
  •   วัดจองคำ-จองกลาง จ. แม่ฮ่องสอน


    เสมือนสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรม
    เมืองไตแม่ฮ่องสอน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ใส

    ม้งวัยเยาว์ ณ บ้านกิ่วกาญจน์
    ต. ริมโขง อ. เชียงของ
    จ. เชียงราย
  •   ยิ้ม

    แม้ชาวเลจะประสบปัญหาเรื่องที่อยู่อาศัย
    พื้นที่ทำประมง  แต่ด้วยความหวัง....
    ทำให้วันนี้ยังยิ้มได้

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ผสมผสาน

    อาภรณ์ผสานผสมระหว่างผ้าทอปกาเกอญอกับเสื้อยืดจากสังคมเมือง
    บ้านแม่ลาน้อย จ. แม่ฮ่องสอน
    ภาพโดย อาทิตย์ ทองดุศรี
  •   เกาะหลีเป๊ะ จ. สตูล

    แผนที่ในเกาะหลีเป๊ะ 
    ถิ่นเดิมของชาวเลที่ ณ วันนี้
    ถูกโอบล้อมด้วยรีสอร์ทการท่องเที่ยว
  •   ตะวันรุ่งที่ไล่โว่ จ. กาญจนบุรี

    ไล่โว่ หรือที่แปลเป็นภาษาไทยว่า ผาหินแดง เป็นชุมชนคนโผล่งที่แวดล้อมด้วยขุนเขาและผืนป่า 
    อาณาเขตของตำบลไล่โว่เป็นส่วนหนึ่งของป่าทุ่งใหญ่นเรศวรแถบอำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี 

    ภาพโดย ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ
  •   การแข่งขันยิงหน้าไม้ของอาข่า

    การแข่งขันยิงหน้าไม้ในเทศกาลโล้ชิงช้าของอาข่า ในวันที่ 13 กันยายน 2554 ที่บ้านสามแยกอีก้อ อ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย
 
  Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre
Ethnic Groups Research Database
1374 results found. Sorted by date | title

  Author Title Source Year
1041. อิฐศักดิ์ ศรีสุโข การศึกษาเพื่อหาแนวทางเสริมสร้างทักษะในการประกอบอาชีพนอกภาคการเกษตรในและนอกชุมชนชาวเขา : ศึกษากรณีเผ่าแม้ว กะเหรี่ยงและมูเซอ สถาบันวิจัยชาวเขา กรมประชาสงเคราะห์ กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม 2541
1042. ไกรสิทธิ์ สิทธิโชดก, วัชรินทร์ อยู่ลือ, พิทพงค์ สะโง้, อนุชา อำนาจสกุล พิศาล เลิศใจกุศล โครงการเคลื่อนงานวิจัยและพัฒนาการแพทย์ชนเผ่าอาข่า ระยะที่ 1 เครือข่ายหมอชุมชนอาข่า สมาคมเพื่อการศึกษาและวัฒนธรรมชาวอาข่า เชียงราย สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว.) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) 2548
1043. พิพัฒน์ กระแจะจันทร์ การสร้างภาพลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ หลักสูตรปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550
1044. วัฒนา คุณประดิษฐ์ การผลิตซ้ำทางอุดมการณ์ของชาวจีนฮ่อในภาคเหนือของไทย หลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2543
1045. ภณิการ์ เพชรเขียว การปรับตัวของแรงงานต่างด้าวชาวพม่าเชื้อสายมอญ : ศึกษาเฉพาะกรณีแรงงานในบริบทสวนยางจังหวัดสุราษฎร์ธานี หลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต(สังคมวิทยา) คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2549
1046. แก่นจันทร์ มะลิซอ การออกแบบผลิตภัณฑ์จากผ้าทอไทใหญ่ บ้านใหม่หมอกจ๋าม อำเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546
1047. ทวิช จตุวรพฤกษ์ กลุ่มชาติพันธุ์บนพื้นที่สูง การรักษาเยียวยา ผู้คน ชุมชน และสภาพสิ่งแวดล้อม(ลีซู) สถาบันวิจัยชาวเขา ปีที่ 20 ฉบับที่1/2545 กรมประชาสงเคราห์ กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม 2545
1048. ไพบูลย์ สุทธสภา ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมในโครงการส่งเสริมการเกษตรบนที่สูงของเกษตรกรชาวเขาเผ่ามูเซอ อำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย ภาควิชาส่งเสริมและเผยแพร่การเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2542
1049. Ngo Thi Phuong Anh Local Adaptive Responses to Sedentarization Program : A Case Study of Houng Nguyen Commune, a Luoi District, Thua Thien Hue Province, Vietnam บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2548
1050. รุ่งรัศมี ศรีวงศ์พันธ์ ปัจจัยที่มีผลต่อการมีบุตรของคู่สมรสชาวเขาเผ่าม้งที่ภรรยาอายุต่ำกว่า 20 ปี อำเภอพบพระ จังหวัดตาก หลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(สาขาสุขศาสตร์) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล 2542
1051. สถาบันวิจัยชาวเขา ชาวเขา ความเข้าใจกับชนเผ่าต่างวัฒนธรรมชาวเขา สถาบันวิจัยชาวเขา กรมประชาสงเคราะห์ กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม 2541
1052. ประเทือง เครือหงส์ ชาวน้ำ (ชาวทะเล) ในเมืองไทย บริษัท ต้นอ้อ แกรมมี่ จำกัด 2541
1053. กัณฑิมา เรไร พิธีกรรมเกี่ยวกับความตายของชาวบนบ้านน้ำลาด ตำบลนายางกลัก อำเภอเทพสถิต จังหวัดชัยภูมิ สาขาวิชาไทยคดีศึกษา(กลุ่มมนุษยศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2543
1054. Ryoko Gaise Tai Yai Migration in the Thai-Burmese Border Area: Its Settlement and Assimilation Process, 1962-1977 สาขาวิชาไทยศึกษา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2542
1055. จิราวรรณ ชัยยะ การเปลี่ยนแปลงและปรับตัวทางสังคมของชาวเขาเผ่าอีก้อ(อาข่า) บ้านผาหมี อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย วิทยานิพนธ์ตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกภาษาไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร 2540
1056. คณะนักวิจัย สถาบันวิจัยชาวเขา จังหวัดเชียงใหม่ การค้าประเวณีของสตรีชาวเขา กรมประชาสงเคราะห์ กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม 2537
1057. รัตนาพร เศรษฐกุล, ชุลีพร วิมุกตานนท์, ราญ ฤนาท การสำรวจทางชาติพันธุ์ของชนเผ่าไทลื้อในลุ่มแม่น้ำปิง จังหวัดเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยพายัพ เชียงใหม่ 2527
1058. พจนา มณีรัตน์ ความสัมพันธ์ของเครือญาติกับพฤติกรรมการใช้ส้วมของชาวโส้ : กรณีศึกษา บ้านโพธิไพศาล อำเภอกุสุมาลย์ จังหวัดสกลนคร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร 2537
1059. เปรมวิทย์ วิวัฒนเศรษฐ์ อาหารพื้นบ้านไทยทรงดำ บางระกำ พิษณุโลก : การวิเคราะห์ตามแนวหน้าที่นิยมและสังคมวิทยา มหาวิทยาลัยพายัพ เชียงใหม่ 2528
1060. จีระวรรณ์ บรรเทาทุกข์ การรับมือกับปัญหา การเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อม มิติหญิงชาย กะเหรี่ยง วาทกรรมชายขอบ คนชายขอบทางสังคม หลักสูตรมานุษยวิทยามหาบัณฑิต สาขาวิชามานุษยวิทยา ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2547

 

ฐานข้อมูลอื่นๆของศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
  ฐานข้อมูลพิพิธภัณฑ์ในประเทศไทย
จารึกในประเทศไทย
จดหมายเหตุทางมานุษยวิทยา
แหล่งโบราณคดีที่สำคัญในประเทศไทย
หนังสือเก่าชาวสยาม
ข่าวมานุษยวิทยา
ICH Learning Resources
ฐานข้อมูลเอกสารโบราณภูมิภาคตะวันตกในประเทศไทย
ฐานข้อมูลประเพณีท้องถิ่นในประเทศไทย
ฐานข้อมูลสังคม - วัฒนธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เมนูหลักภายในเว็บไซต์
  หน้าหลัก
งานวิจัยชาติพันธุ์ในประเทศไทย
บทความชาติพันธุ์
ข่าวชาติพันธุ์
เครือข่ายชาติพันธุ์
เกี่ยวกับเรา
เมนูหลักภายในเว็บไซต์
  ข้อมูลโครงการ
ทีมงาน
ติดต่อเรา
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
ช่วยเหลือ
  กฏกติกาและมารยาท
แบบสอบถาม
คำถามที่พบบ่อย


ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) เลขที่ 20 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 10170 
Tel. +66 2 8809429 | Fax. +66 2 8809332 | E-mail. webmaster@sac.or.th 
สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2549    |   เงื่อนไขและข้อตกลง