สมัครสมาชิก   
| |
ค้นหาข้อมูล
ค้นหาแบบละเอียด
  •   ความเป็นมาและหลักเหตุผล

    เพื่อรวบรวมงานวิจัยทางชาติพันธุ์ที่มีคุณภาพมาสกัดสาระสำคัญในเชิงมานุษยวิทยาและเผยแผ่สาระงานวิจัยแก่นักวิชาการ นักศึกษานักเรียนและผู้สนใจให้เข้าถึงงานวิจัยทางชาติพันธุ์ได้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น

  •   ฐานข้อมูลจำแนกกลุ่มชาติพันธุ์ตามชื่อเรียกที่คนในใช้เรียกตนเอง ด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้ คือ

    1. ชื่อเรียกที่ “คนอื่น” ใช้มักเป็นชื่อที่มีนัยในทางเหยียดหยาม ทำให้สมาชิกกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ รู้สึกไม่ดี อยากจะใช้ชื่อที่เรียกตนเองมากกว่า ซึ่งคณะทำงานมองว่าน่าจะเป็น “สิทธิพื้นฐาน” ของการเป็นมนุษย์

    2. ชื่อเรียกชาติพันธุ์ของตนเองมีความชัดเจนว่าหมายถึงใคร มีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมอย่างไร และตั้งถิ่นฐานอยู่แห่งใดมากกว่าชื่อที่คนอื่นเรียก ซึ่งมักจะมีความหมายเลื่อนลอย ไม่แน่ชัดว่าหมายถึงใคร 

     

    ภาพ-เยาวชนปกาเกอะญอ บ้านมอวาคี จ.เชียงใหม่

  •  

    จากการรวบรวมงานวิจัยในฐานข้อมูลและหลักการจำแนกชื่อเรียกชาติพันธุ์ที่คนในใช้เรียกตนเอง พบว่า ประเทศไทยมีกลุ่มชาติพันธุ์มากกว่า 62 กลุ่ม


    ภาพ-สุภาษิตปกาเกอะญอ
  •   การจำแนกกลุ่มชนมีลักษณะพิเศษกว่าการจำแนกสรรพสิ่งอื่นๆ

    เพราะกลุ่มชนต่างๆ มีความรู้สึกนึกคิดและภาษาที่จะแสดงออกมาได้ว่า “คิดหรือรู้สึกว่าตัวเองเป็นใคร” ซึ่งการจำแนกตนเองนี้ อาจแตกต่างไปจากที่คนนอกจำแนกให้ ในการศึกษาเรื่องนี้นักมานุษยวิทยาจึงต้องเพิ่มมุมมองเรื่องจิตสำนึกและชื่อเรียกตัวเองของคนในกลุ่มชาติพันธุ์ 

    ภาพ-สลากย้อม งานบุญของยอง จ.ลำพูน
  •   มโนทัศน์ความหมายกลุ่มชาติพันธุ์มีการเปลี่ยนแปลงในช่วงเวลาต่างๆ กัน

    ในช่วงทศวรรษของ 2490-2510 ในสาขาวิชามานุษยวิทยา “กลุ่มชาติพันธุ์” คือ กลุ่มชนที่มีวัฒนธรรมเฉพาะแตกต่างจากกลุ่มชนอื่นๆ ซึ่งมักจะเป็นการกำหนดในเชิงวัตถุวิสัย โดยนักมานุษยวิทยาซึ่งสนใจในเรื่องมนุษย์และวัฒนธรรม

    แต่ความหมายของ “กลุ่มชาติพันธุ์” ในช่วงหลังทศวรรษ 
    2510 ได้เน้นไปที่จิตสำนึกในการจำแนกชาติพันธุ์บนพื้นฐานของความแตกต่างทางวัฒนธรรมโดยตัวสมาชิกชาติพันธุ์แต่ละกลุ่มเป็นสำคัญ... (อ่านเพิ่มใน เกี่ยวกับโครงการ/คู่มือการใช้)


    ภาพ-หาดราไวย์ จ.ภูเก็ต บ้านของอูรักลาโว้ย
  •   สนุก

    วิชาคอมพิวเตอร์ของนักเรียน
    ปกาเกอะญอ  อ. แม่ลาน้อย
    จ. แม่ฮ่องสอน


    ภาพโดย อาทิตย์    ทองดุศรี

  •   ข้าวไร่

    ผลิตผลจากไร่หมุนเวียน
    ของชาวโผล่ว (กะเหรี่ยงโปว์)   
    ต. ไล่โว่    อ.สังขละบุรี  
    จ. กาญจนบุรี

  •   ด้าย

    แม่บ้านปกาเกอะญอ
    เตรียมด้ายทอผ้า
    หินลาดใน  จ. เชียงราย

    ภาพโดย เพ็ญรุ่ง สุริยกานต์
  •   ถั่วเน่า

    อาหารและเครื่องปรุงหลัก
    ของคนไต(ไทใหญ่)
    จ.แม่ฮ่องสอน

     ภาพโดย เพ็ญรุ่ง สุริยกานต์
  •   ผู้หญิง

    โผล่ว(กะเหรี่ยงโปว์)
    บ้านไล่โว่ 
    อ.สังขละบุรี
    จ. กาญจนบุรี

    ภาพโดย ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ
  •   บุญ

    ประเพณีบุญข้าวใหม่
    ชาวโผล่ว    ต. ไล่โว่
    อ.สังขละบุรี  จ.กาญจนบุรี

    ภาพโดยศรยุทธ  เอี่ยมเอื้อยุทธ

  •   ปอยส่างลอง แม่ฮ่องสอน

    บรรพชาสามเณร
    งานบุญยิ่งใหญ่ของคนไต
    จ.แม่ฮ่องสอน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ปอยส่างลอง

    บรรพชาสามเณร
    งานบุญยิ่งใหญ่ของคนไต
    จ.แม่ฮ่องสอน

    ภาพโดย เบญจพล  วรรณถนอม
  •   อลอง

    จากพุทธประวัติ เจ้าชายสิทธัตถะ
    ทรงละทิ้งทรัพย์ศฤงคารเข้าสู่
    ร่มกาสาวพัสตร์เพื่อแสวงหา
    มรรคผลนิพพาน


    ภาพโดย  ดอกรัก  พยัคศรี

  •   สามเณร

    จากส่างลองสู่สามเณร
    บวชเรียนพระธรรมภาคฤดูร้อน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   พระพาราละแข่ง วัดหัวเวียง จ. แม่ฮ่องสอน

    หล่อจำลองจาก “พระมหามุนี” 
    ณ เมืองมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า
    ชาวแม่ฮ่องสอนถือว่าเป็นพระพุทธรูป
    คู่บ้านคู่เมืององค์หนึ่ง

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม

  •   เมตตา

    จิตรกรรมพุทธประวัติศิลปะไต
    วัดจองคำ-จองกลาง
    จ. แม่ฮ่องสอน
  •   วัดจองคำ-จองกลาง จ. แม่ฮ่องสอน


    เสมือนสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรม
    เมืองไตแม่ฮ่องสอน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ใส

    ม้งวัยเยาว์ ณ บ้านกิ่วกาญจน์
    ต. ริมโขง อ. เชียงของ
    จ. เชียงราย
  •   ยิ้ม

    แม้ชาวเลจะประสบปัญหาเรื่องที่อยู่อาศัย
    พื้นที่ทำประมง  แต่ด้วยความหวัง....
    ทำให้วันนี้ยังยิ้มได้

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ผสมผสาน

    อาภรณ์ผสานผสมระหว่างผ้าทอปกาเกอญอกับเสื้อยืดจากสังคมเมือง
    บ้านแม่ลาน้อย จ. แม่ฮ่องสอน
    ภาพโดย อาทิตย์ ทองดุศรี
  •   เกาะหลีเป๊ะ จ. สตูล

    แผนที่ในเกาะหลีเป๊ะ 
    ถิ่นเดิมของชาวเลที่ ณ วันนี้
    ถูกโอบล้อมด้วยรีสอร์ทการท่องเที่ยว
  •   ตะวันรุ่งที่ไล่โว่ จ. กาญจนบุรี

    ไล่โว่ หรือที่แปลเป็นภาษาไทยว่า ผาหินแดง เป็นชุมชนคนโผล่งที่แวดล้อมด้วยขุนเขาและผืนป่า 
    อาณาเขตของตำบลไล่โว่เป็นส่วนหนึ่งของป่าทุ่งใหญ่นเรศวรแถบอำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี 

    ภาพโดย ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ
  •   การแข่งขันยิงหน้าไม้ของอาข่า

    การแข่งขันยิงหน้าไม้ในเทศกาลโล้ชิงช้าของอาข่า ในวันที่ 13 กันยายน 2554 ที่บ้านสามแยกอีก้อ อ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย
 
  Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre
Ethnic Groups Research Database
201 results found. Sorted by date | title

  Author Title Source Year
81. สิริสิน สายเกิด การเปลี่ยนแปลงสภาพการผลิตข้าวไร่ของชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยง บ้านแม่ลานคำ อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ หลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(เกษตรศาสตร์) สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2542
82. สโรชา เทพสุนทร งานหัตถกรรมของชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยง เขตหมู่บ้านพระบาทห้วยต้ม ตำบลนาทราย อำเภอลึ้ จังหวัดลำพูน หลักสูตรศิลปะบัณฑิต (ศิลปะไทย) ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2542
83. ชัยวัฒน์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา, พันเอก ปัญหาชาวเขาและการกำหนดมาตรการเฉพาะในการควบคุมชาวเขาเพื่อความมั่นคงแห่งชาติ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร 2543
84. Angkasith, Pongsak (พงษ์ศักดิ์ อังกสิทธิ์) An Adoption of Crop Replacement Program by Hill Tribe Farmers in Highland Agricultural Marketing and Production Project : Thai/UNDP During the Period 1975-1980 สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2525
85. ลิวา ผาดไธสง-ชัยพานิช เอดส์บนพื้นที่สูง : กรณีศึกษาของชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยงในอำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546
86. Kamnuansilpa, Peerasit; Kunstadter, Peter and Auamkul, Nanta Hilltribe Health and Family Planning : Results of a survey of Hmong (Meo) and karen Households in Northern Thailand Family Health Division, Department of Health Ministry of Public Health, Bangkok. 2530
87. Mischung, Roland The Hill Tribes of Northern Thailand: Current Trends and Problems of their Integration into the Modern Thai Nation Regions and National integration in Thailand 1892-1992, p.94-104, Wiesbaden: Harrassowitz 2542
88. Tidwell, Denis D. The Relationship of Smoking by Karen parents to the Mortality of Their Children During the First Year of Life Master of Primary Health Care Management, Faculty of graduate studies, Mahidol University 2532
89. ชวลิต ธนาคำ, ร.ต.ท. โครงสร้างทางสังคมของชนเผ่ากะเหรี่ยง กรณีศึกษาหมู่บ้านตีนธาตุ ตำบลแม่จะเรา อำเภอแม่ระมาด จังหวัดตาก หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต (บัณฑิตอาสาสมัคร) สำนักบัณฑิตอาสาสมัคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2528
90. จรีเมธ อังกสิทธิ์ ผลของการส่งเสริมการปลูกพืชเชิงอนุรักษ์ดินและน้ำบนที่สูงที่มีต่อชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยง อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ : กรณีศึกษาโครงการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมบนที่สูง หลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2538
91. เบญญาภา สกุลวนาการ ลักษณะผู้ใหญ่บ้านที่ชาวไทยภูเขาเผ่ากะเหรี่ยงต้องการ: อำเภอขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยณิวัฒนา 2544
92. ฤชุอร แซ่โกย อาชีพการทอผ้ากี่เอวของชนเผ่ากะเหรี่ยง บ้านพระบาทห้วยต้ม อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน หลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอาชีวศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2544
93. สำนักงาน ศอ.ชข.ทภ. 3 (ศูนย์อำนวยการประสานงานแก้ไขปัญหาชาวเขา และกำจัดการปลูกพืชเสพติด กองทัพภาคที่ 3) สรุปผลการประชุมสัมมนา เรื่อง การแก้ไขปัญหาชุมชนบนพื้นที่สูง ศูนย์อำนวยการประสานงานแก้ไขปัญหาชาวเขาและกำจัดการปลูกพืชเสพติด กองทัพภาคที่ 3 2532
94. Hayami, Yoko Karen Tradition According to Christ or Buddha: The Implications of Multiple Reinterpretations for a Minority Ethnic Group in Thailand Journal of Southeast Asian Studies 27, 2 (September 1996): 334-349? 1996 by National University of Singapore. 2539
95. นงลักษณ์ แก้ววงศ์ดี ปัญหาการปรับตัวทางสังคมของนักเรียนชาวเขาเผ่าปกากะญอในโรงเรียนบ้านห้วยทราย อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ หลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2547
96. ณรงค์ ใจหาญ สภาพความเป็นอยู่และปัญหาของชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยง อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก โครงการวิจัยประเมินสถานภาพองค์ความรู้ โดยการสนับสนุนของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย 2541
97. สุภาวดี คุ้มแว่น บทบาทในครอบครัวของผู้หญิงกะเหรี่ยง อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ ปริญญาสังคมวิทยามหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยา ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2544
98. จำรัส กันทะวงษ์ ศึกษาเปรียบเทียบการเผยแพร่ศาสนาพุทธและศาสนาคริสต์ในกลุ่มชาวเขา ศึกษาเฉพาะกรณีชาวกะเหรี่ยงบ้านผาเด๊ะ ตำบลพระธาตุผาแดง อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก หลักสูตรปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาศาสนาเปรียบเทียบ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล 2531
99. สัญชัย เจริญหลาย ระบบการผลิตของครัวเรือนในชุมชนกะเหรี่ยงที่สัมพันธ์กับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ หลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษานอกระบบ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2542
100. สารณีย์ ไทยานันท์, อุไรวรรณ แสงศร, นิภา ลาชโรจน์, สมเกียรติ จำลอง,อิฐศักดิ์ ศรีสุโข และ สุเมธ ทาริยะ บริบททางวัฒนธรรมและการยอมรับการวางแผนครอบครัวของชาวเขาในเขตโครงการหลวง มูลนิธิโครงการหลวง สถาบันวิจัยชาวเขา กรมประชาสงเคราะห์ กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม 2543

 

ฐานข้อมูลอื่นๆของศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
  ฐานข้อมูลพิพิธภัณฑ์ในประเทศไทย
จารึกในประเทศไทย
จดหมายเหตุทางมานุษยวิทยา
แหล่งโบราณคดีที่สำคัญในประเทศไทย
หนังสือเก่าชาวสยาม
ข่าวมานุษยวิทยา
ICH Learning Resources
ฐานข้อมูลเอกสารโบราณภูมิภาคตะวันตกในประเทศไทย
ฐานข้อมูลประเพณีท้องถิ่นในประเทศไทย
ฐานข้อมูลสังคม - วัฒนธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เมนูหลักภายในเว็บไซต์
  หน้าหลัก
งานวิจัยชาติพันธุ์ในประเทศไทย
บทความชาติพันธุ์
ข่าวชาติพันธุ์
เครือข่ายชาติพันธุ์
เกี่ยวกับเรา
เมนูหลักภายในเว็บไซต์
  ข้อมูลโครงการ
ทีมงาน
ติดต่อเรา
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
ช่วยเหลือ
  กฏกติกาและมารยาท
แบบสอบถาม
คำถามที่พบบ่อย


ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) เลขที่ 20 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 10170 
Tel. +66 2 8809429 | Fax. +66 2 8809332 | E-mail. webmaster@sac.or.th 
สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2549    |   เงื่อนไขและข้อตกลง