สมัครสมาชิก   
| |
ค้นหาข้อมูล
ค้นหาแบบละเอียด
  •   ความเป็นมาและหลักเหตุผล

    เพื่อรวบรวมงานวิจัยทางชาติพันธุ์ที่มีคุณภาพมาสกัดสาระสำคัญในเชิงมานุษยวิทยาและเผยแผ่สาระงานวิจัยแก่นักวิชาการ นักศึกษานักเรียนและผู้สนใจให้เข้าถึงงานวิจัยทางชาติพันธุ์ได้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น

  •   ฐานข้อมูลจำแนกกลุ่มชาติพันธุ์ตามชื่อเรียกที่คนในใช้เรียกตนเอง ด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้ คือ

    1. ชื่อเรียกที่ “คนอื่น” ใช้มักเป็นชื่อที่มีนัยในทางเหยียดหยาม ทำให้สมาชิกกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ รู้สึกไม่ดี อยากจะใช้ชื่อที่เรียกตนเองมากกว่า ซึ่งคณะทำงานมองว่าน่าจะเป็น “สิทธิพื้นฐาน” ของการเป็นมนุษย์

    2. ชื่อเรียกชาติพันธุ์ของตนเองมีความชัดเจนว่าหมายถึงใคร มีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมอย่างไร และตั้งถิ่นฐานอยู่แห่งใดมากกว่าชื่อที่คนอื่นเรียก ซึ่งมักจะมีความหมายเลื่อนลอย ไม่แน่ชัดว่าหมายถึงใคร 

     

    ภาพ-เยาวชนปกาเกอะญอ บ้านมอวาคี จ.เชียงใหม่

  •  

    จากการรวบรวมงานวิจัยในฐานข้อมูลและหลักการจำแนกชื่อเรียกชาติพันธุ์ที่คนในใช้เรียกตนเอง พบว่า ประเทศไทยมีกลุ่มชาติพันธุ์มากกว่า 62 กลุ่ม


    ภาพ-สุภาษิตปกาเกอะญอ
  •   การจำแนกกลุ่มชนมีลักษณะพิเศษกว่าการจำแนกสรรพสิ่งอื่นๆ

    เพราะกลุ่มชนต่างๆ มีความรู้สึกนึกคิดและภาษาที่จะแสดงออกมาได้ว่า “คิดหรือรู้สึกว่าตัวเองเป็นใคร” ซึ่งการจำแนกตนเองนี้ อาจแตกต่างไปจากที่คนนอกจำแนกให้ ในการศึกษาเรื่องนี้นักมานุษยวิทยาจึงต้องเพิ่มมุมมองเรื่องจิตสำนึกและชื่อเรียกตัวเองของคนในกลุ่มชาติพันธุ์ 

    ภาพ-สลากย้อม งานบุญของยอง จ.ลำพูน
  •   มโนทัศน์ความหมายกลุ่มชาติพันธุ์มีการเปลี่ยนแปลงในช่วงเวลาต่างๆ กัน

    ในช่วงทศวรรษของ 2490-2510 ในสาขาวิชามานุษยวิทยา “กลุ่มชาติพันธุ์” คือ กลุ่มชนที่มีวัฒนธรรมเฉพาะแตกต่างจากกลุ่มชนอื่นๆ ซึ่งมักจะเป็นการกำหนดในเชิงวัตถุวิสัย โดยนักมานุษยวิทยาซึ่งสนใจในเรื่องมนุษย์และวัฒนธรรม

    แต่ความหมายของ “กลุ่มชาติพันธุ์” ในช่วงหลังทศวรรษ 
    2510 ได้เน้นไปที่จิตสำนึกในการจำแนกชาติพันธุ์บนพื้นฐานของความแตกต่างทางวัฒนธรรมโดยตัวสมาชิกชาติพันธุ์แต่ละกลุ่มเป็นสำคัญ... (อ่านเพิ่มใน เกี่ยวกับโครงการ/คู่มือการใช้)


    ภาพ-หาดราไวย์ จ.ภูเก็ต บ้านของอูรักลาโว้ย
  •   สนุก

    วิชาคอมพิวเตอร์ของนักเรียน
    ปกาเกอะญอ  อ. แม่ลาน้อย
    จ. แม่ฮ่องสอน


    ภาพโดย อาทิตย์    ทองดุศรี

  •   ข้าวไร่

    ผลิตผลจากไร่หมุนเวียน
    ของชาวโผล่ว (กะเหรี่ยงโปว์)   
    ต. ไล่โว่    อ.สังขละบุรี  
    จ. กาญจนบุรี

  •   ด้าย

    แม่บ้านปกาเกอะญอ
    เตรียมด้ายทอผ้า
    หินลาดใน  จ. เชียงราย

    ภาพโดย เพ็ญรุ่ง สุริยกานต์
  •   ถั่วเน่า

    อาหารและเครื่องปรุงหลัก
    ของคนไต(ไทใหญ่)
    จ.แม่ฮ่องสอน

     ภาพโดย เพ็ญรุ่ง สุริยกานต์
  •   ผู้หญิง

    โผล่ว(กะเหรี่ยงโปว์)
    บ้านไล่โว่ 
    อ.สังขละบุรี
    จ. กาญจนบุรี

    ภาพโดย ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ
  •   บุญ

    ประเพณีบุญข้าวใหม่
    ชาวโผล่ว    ต. ไล่โว่
    อ.สังขละบุรี  จ.กาญจนบุรี

    ภาพโดยศรยุทธ  เอี่ยมเอื้อยุทธ

  •   ปอยส่างลอง แม่ฮ่องสอน

    บรรพชาสามเณร
    งานบุญยิ่งใหญ่ของคนไต
    จ.แม่ฮ่องสอน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ปอยส่างลอง

    บรรพชาสามเณร
    งานบุญยิ่งใหญ่ของคนไต
    จ.แม่ฮ่องสอน

    ภาพโดย เบญจพล  วรรณถนอม
  •   อลอง

    จากพุทธประวัติ เจ้าชายสิทธัตถะ
    ทรงละทิ้งทรัพย์ศฤงคารเข้าสู่
    ร่มกาสาวพัสตร์เพื่อแสวงหา
    มรรคผลนิพพาน


    ภาพโดย  ดอกรัก  พยัคศรี

  •   สามเณร

    จากส่างลองสู่สามเณร
    บวชเรียนพระธรรมภาคฤดูร้อน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   พระพาราละแข่ง วัดหัวเวียง จ. แม่ฮ่องสอน

    หล่อจำลองจาก “พระมหามุนี” 
    ณ เมืองมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า
    ชาวแม่ฮ่องสอนถือว่าเป็นพระพุทธรูป
    คู่บ้านคู่เมืององค์หนึ่ง

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม

  •   เมตตา

    จิตรกรรมพุทธประวัติศิลปะไต
    วัดจองคำ-จองกลาง
    จ. แม่ฮ่องสอน
  •   วัดจองคำ-จองกลาง จ. แม่ฮ่องสอน


    เสมือนสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรม
    เมืองไตแม่ฮ่องสอน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ใส

    ม้งวัยเยาว์ ณ บ้านกิ่วกาญจน์
    ต. ริมโขง อ. เชียงของ
    จ. เชียงราย
  •   ยิ้ม

    แม้ชาวเลจะประสบปัญหาเรื่องที่อยู่อาศัย
    พื้นที่ทำประมง  แต่ด้วยความหวัง....
    ทำให้วันนี้ยังยิ้มได้

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ผสมผสาน

    อาภรณ์ผสานผสมระหว่างผ้าทอปกาเกอญอกับเสื้อยืดจากสังคมเมือง
    บ้านแม่ลาน้อย จ. แม่ฮ่องสอน
    ภาพโดย อาทิตย์ ทองดุศรี
  •   เกาะหลีเป๊ะ จ. สตูล

    แผนที่ในเกาะหลีเป๊ะ 
    ถิ่นเดิมของชาวเลที่ ณ วันนี้
    ถูกโอบล้อมด้วยรีสอร์ทการท่องเที่ยว
  •   ตะวันรุ่งที่ไล่โว่ จ. กาญจนบุรี

    ไล่โว่ หรือที่แปลเป็นภาษาไทยว่า ผาหินแดง เป็นชุมชนคนโผล่งที่แวดล้อมด้วยขุนเขาและผืนป่า 
    อาณาเขตของตำบลไล่โว่เป็นส่วนหนึ่งของป่าทุ่งใหญ่นเรศวรแถบอำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี 

    ภาพโดย ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ
  •   การแข่งขันยิงหน้าไม้ของอาข่า

    การแข่งขันยิงหน้าไม้ในเทศกาลโล้ชิงช้าของอาข่า ในวันที่ 13 กันยายน 2554 ที่บ้านสามแยกอีก้อ อ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย
 
  Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre
Ethnic Groups Research Database
Sorted by date | title

   Record

 
Subject ม้ง ,ลีซู, ลาหู่, ปกาเกอะญอ จกอ คานยอ (กะเหรี่ยง),จีนยูนนาน, ชาวเขา,การปลูกพืชทดแทน,ภาคเหนือ
Author Angkasith, Pongsak (พงษ์ศักดิ์ อังกสิทธิ์)
Title An Adoption of Crop Replacement Program by Hill Tribe Farmers in Highland Agricultural Marketing and Production Project : Thai/UNDP During the Period 1975-1980
Document Type รายงานการวิจัย Original Language of Text ภาษาอังกฤษ
Ethnic Identity ลีซู, ลาหู่ ลาหู่ ละหู่ ลาฮู, ม้ง, ปกาเกอะญอ, จีนยูนนาน จีนฮ่อ มุสลิมยูนนาน, Language and Linguistic Affiliations ไม่ระบุ
Location of
Documents
สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Total Pages 65 Year 2525
Source สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Abstract

การศึกษาครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษา ผลที่เกิดขึ้นกับชาวเขาจากการดำเนินโครงการ The 1973-1980 Crop Replacement and Community development Project Became Highland Agricultural Marketing and Reduction Project (HAMP) ช่วงการดำเนินโครงการระหว่างปี ค.ศ.1980-1982 ในหลายพื้นที่ทางภาคเหนือ โดยจะศึกษาถึงปัจจัยที่ทำให้ชาวเขาในพื้นที่โครงการหันมาปลูกพืชทดแทนตามคำแนะนำของโครงการ ทั้งปัจจัยด้านอายุ เพศ ระดับการศึกษา แต่อิทธิพลของปัจจัยเหล่านี้ยังไม่ชัดเจน (หน้า 23-30)

Focus

เน้นศึกษากระบวนการปรับเปลี่ยนหันมาปลูกพืชทดแทนของชาวเขาที่เข้าร่วมโครงการการปลูกพืชทดแทนและพัฒนาชุมชน รวมถึงการศึกษาปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อการปรับเปลี่ยนดังกล่าว (หน้า 1-4, 9-16)

Theoretical Issues

ไม่มี

Ethnic Group in the Focus

กลุ่มที่ศึกษาจะเป็นชาวเขาที่อยู่ในบริเวณที่มีการดำเนินโครงการ มีประมาณ 400 คน จากเผ่าต่างๆ ได้แก่ ม้ง กะเหรี่ยง ลีซู ยูน นานนิส และลาหู่ จากหมู่บ้านต่างๆ ได้แก่หมู่บ้าน Sam Mun หมู่บ้านแม่สาใหม่ หมู่บ้าน Pha Nokkok หมู่บ้าน Buak Chan หมู่บ้าน Chang Khian หมู่บ้านขุนวัง หมู่บ้านผาหม่น หมู่บ้านบ้านปุยและหมู่บ้านแม่โถ (หน้า 18-19)

Language and Linguistic Affiliations

ไม่มีข้อมูล

Study Period (Data Collection)

ช่วงแรกตั้งแต่ พฤษภาคม-ธันวาคม และช่วงที่สองตั้งแต่ มกราคม-เมษายน (หน้า 21)

History of the Group and Community

ไม่มีข้อมูล

Settlement Pattern

ไม่มีข้อมูล

Demography

จำนวนชาวเขาที่ให้ข้อมูล มีม้ง จำนวน 83 คนคิดเป็นร้อยละ 60.14 กะเหรี่ยง 23 คนคิดเป็นร้อยละ 16.67 ลีซู 20 คน คิดเป็นร้อยละ 14.49 และกลุ่มอื่นๆ อีก 11 คนคิดเป็นร้อยละ 7.79 ส่วนใหญ่อายุ 20-29 ปี มีจำนวน 40 คน อายุ 30-39 ปีมีจำนวน 39 คน และอายุ 40-49 ปีมีจำนวน 22 คน (หน้า 23,31)

Economy

รายได้หลักของชาวเขามาจากการปลูกฝิ่นขาย ฝิ่นถือเป็นพืชที่อยู่คู่กับชาวเขามานาน (หน้า 1) มีชาวเขาจำนวนน้อยที่มีหนี้สิน (หน้า 23) ประชากรส่วนมากต้องเช่าที่ดินเพื่อทำกิน แม้จะมีการดำเนินโครงการสนับสนุนให้หันมาปลูกพืชเศรษฐกิจแล้วก็ตาม ปรากฏว่ายังมีชาวบ้านมากกว่าครึ่งที่ยังคงปลูกฝิ่นอยู่ (หน้า 24) มีครอบครัวชาวเขาจำนวนไม่น้อยที่นิยมทำไร่กาแฟและมันสำปะหลัง ผลผลิตที่ได้จะถูกนำไปขายที่ตลาดและขายให้กับโครงการ ถึงแม้ว่าชาวเขาจะได้รับการช่วยเหลือจากทางโครงการแต่ก็ยังประสบปัญหาการขาดแคลนแหล่งเงินทุนสนับสนุน บางส่วนขาดแคลนที่ดินทำกินและขาดแคลนแรงงาน เพื่อให้ได้ผลผลิตจำนวนมาก ชาวเขาหันมาใช้ปุ๋ยเคมี เพื่อเร่งผลผลิต เมื่อนำผลผลิตไปขายก็จะถูกกดราคาโดยพ่อค้าคนกลาง (หน้า 28-29)

Social Organization

สังคมชาวเขาเป็นแบบครอบครัวขยาย ครอบครัวขนาดใหญ่มีสมาชิกราว 15 คน ส่วนครอบครัวขนาดเล็ก มีสมาชิกราว 5 คน (หน้า 23)

Political Organization

ไม่มีข้อมูล

Belief System

ไม่มีข้อมูล

Education and Socialization

ระดับการศึกษาของชาวเขาอยู่ในระดับต่ำ (หน้า 23)

Health and Medicine

ไม่มีข้อมูล

Art and Crafts (including Clothing Costume)

ไม่มีข้อมูล

Folklore

ไม่มีข้อมูล

Ethnicity (Ethnic Identity, Boundaries and Ethnic Relation)

ไม่มีข้อมูล

Social Cultural and Identity Change

การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นคือการที่ชาวเขาหันมาสนใจเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ แทนการปลูกฝิ่นอย่างที่เคย (หน้า 57-60)

Critic Issues

ไม่มีข้อมูล

Other Issues

ประเด็นเกี่ยวกับกระบวนการปรับเปลี่ยนให้ชาวเขาหันมาปลูกพืชเศรษฐกิจทดแทนการปลูกฝิ่น มีปัจจัยหรืออิทธิพลสองประการคือ ปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายใน - ปัจจัยภายในที่มีผลทำให้ชาวเขาหันมาสนใจปลูกพืชทดแทนคือเพื่อนบ้านที่เข้าร่วมโครงการ ส่วนปัจจัยภายนอกคือเจ้าหน้าที่โครงการที่มีส่วนส่งเสริมให้ชาวบ้านเกิดความสนใจ (หน้า 25-26) - ปัจจัยด้านตัวบุคคลได้แก่ เพศ วัย ระดับการศึกษามีผลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมน้อย (หน้า 23) ประเด็นเกี่ยวกับปัญหาที่เกิดขึ้น ได้แก่ปัญหาหนี้สิน ปัญหาการขาดแคลนน้ำใช้ในการเกษตร ปัญหาการติดฝิ่นของชาวเขาบางส่วน ปัญหาการขาดแคลนอุปกรณ์การเกษตร และอุปกรณ์ที่ใช้อยู่นั้น ไม่มีความเหมาะสม ชาวบ้านบางส่วนขาดแคลนที่ดินทำกิน ที่ดินที่มีไม่เพียงพอต้องเช่าที่ดิน ปัญหาการกู้ยืมเงินมาลงทุน ก่อให้เกิดปัญหาหนี้สินกับชาวบ้านบางส่วน การคมนาคมไม่สะดวกต่อการนำผลผลิตไปขายที่ตลาด ปัญหาการกดราคาโดยพ่อค้าคนกลาง การขาดแคลนแรงงานจนต้องจ้างแรงงานแต่ก็พบกับปัญหาค่าแรงสูง (หน้า 23-30, 57-62)

Map/Illustration

ไม่ปรากฏแผนที่และรูปภาพ แต่แสดงข้อมูลบางส่วนในรูปแบบของตาราง มีทั้งหมด 3 ตาราง ได้แก่ ตารางจัดจำแนกชาวเขาที่ถูกสัมภาษณ์ (หน้า 31) ตารางแสดงรายละเอียดการเป็นหนี้ (หน้า 32) ตารางการถือครองที่ดินและการใช้ที่ดิน (หน้า 32)

Text Analyst พรทิพย์ ลิ้มตระกูล Date of Report 19 เม.ย 2564
TAG ม้ง, ลีซู, ลาหู่, ปกาเกอะญอ จกอ คานยอ (กะเหรี่ยง), จีนยูนนาน, ชาวเขา, การปลูกพืชทดแทน, ภาคเหนือ, Translator -
 
 

 

ฐานข้อมูลอื่นๆของศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
  ฐานข้อมูลพิพิธภัณฑ์ในประเทศไทย
จารึกในประเทศไทย
จดหมายเหตุทางมานุษยวิทยา
แหล่งโบราณคดีที่สำคัญในประเทศไทย
หนังสือเก่าชาวสยาม
ข่าวมานุษยวิทยา
ICH Learning Resources
ฐานข้อมูลเอกสารโบราณภูมิภาคตะวันตกในประเทศไทย
ฐานข้อมูลประเพณีท้องถิ่นในประเทศไทย
ฐานข้อมูลสังคม - วัฒนธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เมนูหลักภายในเว็บไซต์
  หน้าหลัก
งานวิจัยชาติพันธุ์ในประเทศไทย
บทความชาติพันธุ์
ข่าวชาติพันธุ์
เครือข่ายชาติพันธุ์
เกี่ยวกับเรา
เมนูหลักภายในเว็บไซต์
  ข้อมูลโครงการ
ทีมงาน
ติดต่อเรา
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
ช่วยเหลือ
  กฏกติกาและมารยาท
แบบสอบถาม
คำถามที่พบบ่อย


ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) เลขที่ 20 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 10170 
Tel. +66 2 8809429 | Fax. +66 2 8809332 | E-mail. webmaster@sac.or.th 
สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2549    |   เงื่อนไขและข้อตกลง