สมัครสมาชิก   
| |
ค้นหาข้อมูล
ค้นหาแบบละเอียด
  •   ความเป็นมาและหลักเหตุผล

    เพื่อรวบรวมงานวิจัยทางชาติพันธุ์ที่มีคุณภาพมาสกัดสาระสำคัญในเชิงมานุษยวิทยาและเผยแผ่สาระงานวิจัยแก่นักวิชาการ นักศึกษานักเรียนและผู้สนใจให้เข้าถึงงานวิจัยทางชาติพันธุ์ได้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น

  •   ฐานข้อมูลจำแนกกลุ่มชาติพันธุ์ตามชื่อเรียกที่คนในใช้เรียกตนเอง ด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้ คือ

    1. ชื่อเรียกที่ “คนอื่น” ใช้มักเป็นชื่อที่มีนัยในทางเหยียดหยาม ทำให้สมาชิกกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ รู้สึกไม่ดี อยากจะใช้ชื่อที่เรียกตนเองมากกว่า ซึ่งคณะทำงานมองว่าน่าจะเป็น “สิทธิพื้นฐาน” ของการเป็นมนุษย์

    2. ชื่อเรียกชาติพันธุ์ของตนเองมีความชัดเจนว่าหมายถึงใคร มีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมอย่างไร และตั้งถิ่นฐานอยู่แห่งใดมากกว่าชื่อที่คนอื่นเรียก ซึ่งมักจะมีความหมายเลื่อนลอย ไม่แน่ชัดว่าหมายถึงใคร 

     

    ภาพ-เยาวชนปกาเกอะญอ บ้านมอวาคี จ.เชียงใหม่

  •  

    จากการรวบรวมงานวิจัยในฐานข้อมูลและหลักการจำแนกชื่อเรียกชาติพันธุ์ที่คนในใช้เรียกตนเอง พบว่า ประเทศไทยมีกลุ่มชาติพันธุ์มากกว่า 62 กลุ่ม


    ภาพ-สุภาษิตปกาเกอะญอ
  •   การจำแนกกลุ่มชนมีลักษณะพิเศษกว่าการจำแนกสรรพสิ่งอื่นๆ

    เพราะกลุ่มชนต่างๆ มีความรู้สึกนึกคิดและภาษาที่จะแสดงออกมาได้ว่า “คิดหรือรู้สึกว่าตัวเองเป็นใคร” ซึ่งการจำแนกตนเองนี้ อาจแตกต่างไปจากที่คนนอกจำแนกให้ ในการศึกษาเรื่องนี้นักมานุษยวิทยาจึงต้องเพิ่มมุมมองเรื่องจิตสำนึกและชื่อเรียกตัวเองของคนในกลุ่มชาติพันธุ์ 

    ภาพ-สลากย้อม งานบุญของยอง จ.ลำพูน
  •   มโนทัศน์ความหมายกลุ่มชาติพันธุ์มีการเปลี่ยนแปลงในช่วงเวลาต่างๆ กัน

    ในช่วงทศวรรษของ 2490-2510 ในสาขาวิชามานุษยวิทยา “กลุ่มชาติพันธุ์” คือ กลุ่มชนที่มีวัฒนธรรมเฉพาะแตกต่างจากกลุ่มชนอื่นๆ ซึ่งมักจะเป็นการกำหนดในเชิงวัตถุวิสัย โดยนักมานุษยวิทยาซึ่งสนใจในเรื่องมนุษย์และวัฒนธรรม

    แต่ความหมายของ “กลุ่มชาติพันธุ์” ในช่วงหลังทศวรรษ 
    2510 ได้เน้นไปที่จิตสำนึกในการจำแนกชาติพันธุ์บนพื้นฐานของความแตกต่างทางวัฒนธรรมโดยตัวสมาชิกชาติพันธุ์แต่ละกลุ่มเป็นสำคัญ... (อ่านเพิ่มใน เกี่ยวกับโครงการ/คู่มือการใช้)


    ภาพ-หาดราไวย์ จ.ภูเก็ต บ้านของอูรักลาโว้ย
  •   สนุก

    วิชาคอมพิวเตอร์ของนักเรียน
    ปกาเกอะญอ  อ. แม่ลาน้อย
    จ. แม่ฮ่องสอน


    ภาพโดย อาทิตย์    ทองดุศรี

  •   ข้าวไร่

    ผลิตผลจากไร่หมุนเวียน
    ของชาวโผล่ว (กะเหรี่ยงโปว์)   
    ต. ไล่โว่    อ.สังขละบุรี  
    จ. กาญจนบุรี

  •   ด้าย

    แม่บ้านปกาเกอะญอ
    เตรียมด้ายทอผ้า
    หินลาดใน  จ. เชียงราย

    ภาพโดย เพ็ญรุ่ง สุริยกานต์
  •   ถั่วเน่า

    อาหารและเครื่องปรุงหลัก
    ของคนไต(ไทใหญ่)
    จ.แม่ฮ่องสอน

     ภาพโดย เพ็ญรุ่ง สุริยกานต์
  •   ผู้หญิง

    โผล่ว(กะเหรี่ยงโปว์)
    บ้านไล่โว่ 
    อ.สังขละบุรี
    จ. กาญจนบุรี

    ภาพโดย ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ
  •   บุญ

    ประเพณีบุญข้าวใหม่
    ชาวโผล่ว    ต. ไล่โว่
    อ.สังขละบุรี  จ.กาญจนบุรี

    ภาพโดยศรยุทธ  เอี่ยมเอื้อยุทธ

  •   ปอยส่างลอง แม่ฮ่องสอน

    บรรพชาสามเณร
    งานบุญยิ่งใหญ่ของคนไต
    จ.แม่ฮ่องสอน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ปอยส่างลอง

    บรรพชาสามเณร
    งานบุญยิ่งใหญ่ของคนไต
    จ.แม่ฮ่องสอน

    ภาพโดย เบญจพล  วรรณถนอม
  •   อลอง

    จากพุทธประวัติ เจ้าชายสิทธัตถะ
    ทรงละทิ้งทรัพย์ศฤงคารเข้าสู่
    ร่มกาสาวพัสตร์เพื่อแสวงหา
    มรรคผลนิพพาน


    ภาพโดย  ดอกรัก  พยัคศรี

  •   สามเณร

    จากส่างลองสู่สามเณร
    บวชเรียนพระธรรมภาคฤดูร้อน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   พระพาราละแข่ง วัดหัวเวียง จ. แม่ฮ่องสอน

    หล่อจำลองจาก “พระมหามุนี” 
    ณ เมืองมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า
    ชาวแม่ฮ่องสอนถือว่าเป็นพระพุทธรูป
    คู่บ้านคู่เมืององค์หนึ่ง

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม

  •   เมตตา

    จิตรกรรมพุทธประวัติศิลปะไต
    วัดจองคำ-จองกลาง
    จ. แม่ฮ่องสอน
  •   วัดจองคำ-จองกลาง จ. แม่ฮ่องสอน


    เสมือนสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรม
    เมืองไตแม่ฮ่องสอน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ใส

    ม้งวัยเยาว์ ณ บ้านกิ่วกาญจน์
    ต. ริมโขง อ. เชียงของ
    จ. เชียงราย
  •   ยิ้ม

    แม้ชาวเลจะประสบปัญหาเรื่องที่อยู่อาศัย
    พื้นที่ทำประมง  แต่ด้วยความหวัง....
    ทำให้วันนี้ยังยิ้มได้

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ผสมผสาน

    อาภรณ์ผสานผสมระหว่างผ้าทอปกาเกอญอกับเสื้อยืดจากสังคมเมือง
    บ้านแม่ลาน้อย จ. แม่ฮ่องสอน
    ภาพโดย อาทิตย์ ทองดุศรี
  •   เกาะหลีเป๊ะ จ. สตูล

    แผนที่ในเกาะหลีเป๊ะ 
    ถิ่นเดิมของชาวเลที่ ณ วันนี้
    ถูกโอบล้อมด้วยรีสอร์ทการท่องเที่ยว
  •   ตะวันรุ่งที่ไล่โว่ จ. กาญจนบุรี

    ไล่โว่ หรือที่แปลเป็นภาษาไทยว่า ผาหินแดง เป็นชุมชนคนโผล่งที่แวดล้อมด้วยขุนเขาและผืนป่า 
    อาณาเขตของตำบลไล่โว่เป็นส่วนหนึ่งของป่าทุ่งใหญ่นเรศวรแถบอำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี 

    ภาพโดย ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ
  •   การแข่งขันยิงหน้าไม้ของอาข่า

    การแข่งขันยิงหน้าไม้ในเทศกาลโล้ชิงช้าของอาข่า ในวันที่ 13 กันยายน 2554 ที่บ้านสามแยกอีก้อ อ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย
 
  Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre
Ethnic Groups Research Database
201 results found. Sorted by date | title

  Author Title Source Year
161. สารณีย์ ไทยานันท์ และนิภา ลาชโรจน์ กลุ่มชาติพันธุ์บนพื้นที่สูง การรักษาเยียวยา ผู้คน ชุมชน และสภาพสิ่งแวดล้อม(กะเหรี่ยง) สถาบันวิจัยชาวเขา ปีที่ 20 ฉบับที่1/2545 กรมประชาสงเคราห์ กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม 2545
162. คณะนักวิจัย สถาบันวิจัยชาวเขา จังหวัดเชียงใหม่ การค้าประเวณีของสตรีชาวเขา กรมประชาสงเคราะห์ กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม 2537
163. ชัยศิลป์ คนคล่อง ความเชื่อ ประเพณี และวัฒนธรรมของชาวปกาเกอญอบ้านแม่หมีในหมู่ที่ 6 ตำบลหัวเมือง อำเภอเมืองปาน จังหวัดลำปาง สำนักบัณฑิตอาสาสมัคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2543
164. ทรงพล รัตนวิไลลักษณ์ การสร้างตัวตนผ่านการปฏิบัติเกี่ยวกับป่าของชุมชนปกาเกอะญอ หลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษานอกระบบ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546
165. ชลกาญจน์ ฮาซันนารี การศึกษาสภาพการดำรงชีวิตของเผ่ากะเหรี่ยง กรณีศึกษาบ้านคำหวัน ตำบลแม่ตื่น อำเภอแม่ระมาด จังหวัดตาก สำนักบัณฑิตอาสาสมัคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2538
166. Saowaphak Suksinchai การแท้งบุตรในหมู่อพยพ - กรณีศึกษาของสตรีกะเหรี่ยงในจังหวัดตาก Master of Arts (Population and Reproductive Health Research) Faculty of Graduate Studies Mahidol University 2542
167. เมธวี ศรีคำมูล X-, Y- Chromosomal and Mitochondrial DNA variations of the Karen, Hmong and Iu Mien in the Upper Northern Part of Thailand วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาชีววิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2548
168. ประเสริฐ ตระการศุภกร และคณะ การเกษตรแบบไร่หมุนเวียน : องค์ความรู้และปฏิบัติการของกลุ่มชาติพันธุ์ ปกาเกอะญอในภาคเหนือของประเทศไทย เครือข่ายภูมิปัญญาชนเผ่าพื้นเมืองบนที่สูงในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (IKAP) 2548
169. รองศาสตราจารย์ ไพฑูรย์ ธรรมแสง และคณะ (นักศึกษาหลักสูตรการปฏิบัติการจิตวิทยาฝ่ายอำนวยการ รุ่นที่ 67 คณะที่4) ชนกลุ่มน้อยชาวเขาภาคเหนือ : ข้อศึกษาพิจารณาเบื้องต้นในการปฏิบัติการจิตวิทยาชนกลุ่มน้อยชาวเขาทางภาคเหนือ สถาบันจิตวิทยาความมั่นคง สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ กองบัญชาการทหารสูงสุด 2536
170. สุรินทร วงศ์คำแดง การจัดการความรู้ของหมอพื้นบ้านชาวเขาเผ่าปกาเกอะญอตำบลบ้านจันทร์ อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ สุรินทร วงศ์คำแดง. (2550).การจัดการความรู้ของหมอพื้นบ้านชาวเขาเผ่าปกาเกอะญอตำบลบ้านจันทร์ อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการส่งเสริมสุขภาพ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2550
171. Prasert Trakansuphakon (ประเสริฐ ตระการศุภกร) Space of resistance and Place of Local Knowledge in Northern Thai Ecological Movement Prasert Trakansuphakon (2550). Space of resistance and Place of Local Knowledge in Northern Thai Ecological Movement. Doctor of Philosophy (Social Science) Chiangmai University 2550
172. Ken Manson The subgrouping of Karen Ken Manson. “The subgrouping of Karen” Journal of the Southeast Asian Linguistic Society. พฤษภาคม 2554 2554
173. เฉลิมศักดิ์ แหงมงาม แรงงานต่างชาติ : ศึกษากรณีกะเหรี่ยงหลบหนีเข้าเมือง อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก เฉลิมศักดิ์ แหงมงาม. ปัญหาแรงงานต่างชาติ : ศึกษากรณีกะเหรี่ยงหลบหนีเข้าเมือง อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก.บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2535. 2535
174. Jian Hu, Chai Podhisita Differential Utilization of Health Care Services among Ethnic Groups on the Thailand-Myanmar Border: A case study of Kanchanaburi Province, Thailand Hu, Jian and Podhisita, Chai. “Differential Utilization of Health Care Services among Ethnic Groups on the Thailand-Myanmar Border: A case study of Kanchanaburi Province, Thailand” Journal of Population and Social Studies. ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 : 115-134; กรกฎาคม 2551. 2551
175. Chumpol Maniratanavongsiri People and protected areas : Impact and resistance among the Pgak’nyau (Karen) in Thailand Chumpol Maniratanavongsiri. (2542). People and protected areas : Impact and resistance among the Pgak’nyau (Karen) in Thailand. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยโตรอนโต. 2542
176. บัณฑิต บุญศรี ธรรมจาริกกับการสร้างจิตสำนึกความเป็นไทยของชาวเขา วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาพุทธศาสนศึกษา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2549
177. จุไรพร จิตพิทักษ์ วัยรุ่นชาติพันธุ์ชายขอบกับการปรับตัวในเมืองเชียงใหม่ : กรณีศึกษาวัยรุ่นปกาเกอะญอ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2553
178. ชนะพันธ์ รวีโชติภัคนันท์ วิถีชีวิตชาวกะเหรี่ยง อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2554
179. ภูมิชาย คชมิตร การธำรงชาติพันธุ์ของคนทวายในพื้นที่ชายแดนไทย-พม่า มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2558
180. ขวัญชีวัน บัวแดง พื้นที่พรมแดนแม่น้ำเมยกับความสัมพันธ์ชาติพันธุ์ กะเหรี่ยง-คนเมือง มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2558

 

ฐานข้อมูลอื่นๆของศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
  ฐานข้อมูลพิพิธภัณฑ์ในประเทศไทย
จารึกในประเทศไทย
จดหมายเหตุทางมานุษยวิทยา
แหล่งโบราณคดีที่สำคัญในประเทศไทย
หนังสือเก่าชาวสยาม
ข่าวมานุษยวิทยา
ICH Learning Resources
ฐานข้อมูลเอกสารโบราณภูมิภาคตะวันตกในประเทศไทย
ฐานข้อมูลประเพณีท้องถิ่นในประเทศไทย
ฐานข้อมูลสังคม - วัฒนธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เมนูหลักภายในเว็บไซต์
  หน้าหลัก
งานวิจัยชาติพันธุ์ในประเทศไทย
บทความชาติพันธุ์
ข่าวชาติพันธุ์
เครือข่ายชาติพันธุ์
เกี่ยวกับเรา
เมนูหลักภายในเว็บไซต์
  ข้อมูลโครงการ
ทีมงาน
ติดต่อเรา
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
ช่วยเหลือ
  กฏกติกาและมารยาท
แบบสอบถาม
คำถามที่พบบ่อย


ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) เลขที่ 20 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 10170 
Tel. +66 2 8809429 | Fax. +66 2 8809332 | E-mail. webmaster@sac.or.th 
สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2549    |   เงื่อนไขและข้อตกลง