สมัครสมาชิก   
| |
ค้นหาข้อมูล
ค้นหาแบบละเอียด
  •   ความเป็นมาและหลักเหตุผล

    เพื่อรวบรวมงานวิจัยทางชาติพันธุ์ที่มีคุณภาพมาสกัดสาระสำคัญในเชิงมานุษยวิทยาและเผยแผ่สาระงานวิจัยแก่นักวิชาการ นักศึกษานักเรียนและผู้สนใจให้เข้าถึงงานวิจัยทางชาติพันธุ์ได้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น

  •   ฐานข้อมูลจำแนกกลุ่มชาติพันธุ์ตามชื่อเรียกที่คนในใช้เรียกตนเอง ด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้ คือ

    1. ชื่อเรียกที่ “คนอื่น” ใช้มักเป็นชื่อที่มีนัยในทางเหยียดหยาม ทำให้สมาชิกกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ รู้สึกไม่ดี อยากจะใช้ชื่อที่เรียกตนเองมากกว่า ซึ่งคณะทำงานมองว่าน่าจะเป็น “สิทธิพื้นฐาน” ของการเป็นมนุษย์

    2. ชื่อเรียกชาติพันธุ์ของตนเองมีความชัดเจนว่าหมายถึงใคร มีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมอย่างไร และตั้งถิ่นฐานอยู่แห่งใดมากกว่าชื่อที่คนอื่นเรียก ซึ่งมักจะมีความหมายเลื่อนลอย ไม่แน่ชัดว่าหมายถึงใคร 

     

    ภาพ-เยาวชนปกาเกอะญอ บ้านมอวาคี จ.เชียงใหม่

  •  

    จากการรวบรวมงานวิจัยในฐานข้อมูลและหลักการจำแนกชื่อเรียกชาติพันธุ์ที่คนในใช้เรียกตนเอง พบว่า ประเทศไทยมีกลุ่มชาติพันธุ์มากกว่า 62 กลุ่ม


    ภาพ-สุภาษิตปกาเกอะญอ
  •   การจำแนกกลุ่มชนมีลักษณะพิเศษกว่าการจำแนกสรรพสิ่งอื่นๆ

    เพราะกลุ่มชนต่างๆ มีความรู้สึกนึกคิดและภาษาที่จะแสดงออกมาได้ว่า “คิดหรือรู้สึกว่าตัวเองเป็นใคร” ซึ่งการจำแนกตนเองนี้ อาจแตกต่างไปจากที่คนนอกจำแนกให้ ในการศึกษาเรื่องนี้นักมานุษยวิทยาจึงต้องเพิ่มมุมมองเรื่องจิตสำนึกและชื่อเรียกตัวเองของคนในกลุ่มชาติพันธุ์ 

    ภาพ-สลากย้อม งานบุญของยอง จ.ลำพูน
  •   มโนทัศน์ความหมายกลุ่มชาติพันธุ์มีการเปลี่ยนแปลงในช่วงเวลาต่างๆ กัน

    ในช่วงทศวรรษของ 2490-2510 ในสาขาวิชามานุษยวิทยา “กลุ่มชาติพันธุ์” คือ กลุ่มชนที่มีวัฒนธรรมเฉพาะแตกต่างจากกลุ่มชนอื่นๆ ซึ่งมักจะเป็นการกำหนดในเชิงวัตถุวิสัย โดยนักมานุษยวิทยาซึ่งสนใจในเรื่องมนุษย์และวัฒนธรรม

    แต่ความหมายของ “กลุ่มชาติพันธุ์” ในช่วงหลังทศวรรษ 
    2510 ได้เน้นไปที่จิตสำนึกในการจำแนกชาติพันธุ์บนพื้นฐานของความแตกต่างทางวัฒนธรรมโดยตัวสมาชิกชาติพันธุ์แต่ละกลุ่มเป็นสำคัญ... (อ่านเพิ่มใน เกี่ยวกับโครงการ/คู่มือการใช้)


    ภาพ-หาดราไวย์ จ.ภูเก็ต บ้านของอูรักลาโว้ย
  •   สนุก

    วิชาคอมพิวเตอร์ของนักเรียน
    ปกาเกอะญอ  อ. แม่ลาน้อย
    จ. แม่ฮ่องสอน


    ภาพโดย อาทิตย์    ทองดุศรี

  •   ข้าวไร่

    ผลิตผลจากไร่หมุนเวียน
    ของชาวโผล่ว (กะเหรี่ยงโปว์)   
    ต. ไล่โว่    อ.สังขละบุรี  
    จ. กาญจนบุรี

  •   ด้าย

    แม่บ้านปกาเกอะญอ
    เตรียมด้ายทอผ้า
    หินลาดใน  จ. เชียงราย

    ภาพโดย เพ็ญรุ่ง สุริยกานต์
  •   ถั่วเน่า

    อาหารและเครื่องปรุงหลัก
    ของคนไต(ไทใหญ่)
    จ.แม่ฮ่องสอน

     ภาพโดย เพ็ญรุ่ง สุริยกานต์
  •   ผู้หญิง

    โผล่ว(กะเหรี่ยงโปว์)
    บ้านไล่โว่ 
    อ.สังขละบุรี
    จ. กาญจนบุรี

    ภาพโดย ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ
  •   บุญ

    ประเพณีบุญข้าวใหม่
    ชาวโผล่ว    ต. ไล่โว่
    อ.สังขละบุรี  จ.กาญจนบุรี

    ภาพโดยศรยุทธ  เอี่ยมเอื้อยุทธ

  •   ปอยส่างลอง แม่ฮ่องสอน

    บรรพชาสามเณร
    งานบุญยิ่งใหญ่ของคนไต
    จ.แม่ฮ่องสอน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ปอยส่างลอง

    บรรพชาสามเณร
    งานบุญยิ่งใหญ่ของคนไต
    จ.แม่ฮ่องสอน

    ภาพโดย เบญจพล  วรรณถนอม
  •   อลอง

    จากพุทธประวัติ เจ้าชายสิทธัตถะ
    ทรงละทิ้งทรัพย์ศฤงคารเข้าสู่
    ร่มกาสาวพัสตร์เพื่อแสวงหา
    มรรคผลนิพพาน


    ภาพโดย  ดอกรัก  พยัคศรี

  •   สามเณร

    จากส่างลองสู่สามเณร
    บวชเรียนพระธรรมภาคฤดูร้อน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   พระพาราละแข่ง วัดหัวเวียง จ. แม่ฮ่องสอน

    หล่อจำลองจาก “พระมหามุนี” 
    ณ เมืองมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า
    ชาวแม่ฮ่องสอนถือว่าเป็นพระพุทธรูป
    คู่บ้านคู่เมืององค์หนึ่ง

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม

  •   เมตตา

    จิตรกรรมพุทธประวัติศิลปะไต
    วัดจองคำ-จองกลาง
    จ. แม่ฮ่องสอน
  •   วัดจองคำ-จองกลาง จ. แม่ฮ่องสอน


    เสมือนสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรม
    เมืองไตแม่ฮ่องสอน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ใส

    ม้งวัยเยาว์ ณ บ้านกิ่วกาญจน์
    ต. ริมโขง อ. เชียงของ
    จ. เชียงราย
  •   ยิ้ม

    แม้ชาวเลจะประสบปัญหาเรื่องที่อยู่อาศัย
    พื้นที่ทำประมง  แต่ด้วยความหวัง....
    ทำให้วันนี้ยังยิ้มได้

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ผสมผสาน

    อาภรณ์ผสานผสมระหว่างผ้าทอปกาเกอญอกับเสื้อยืดจากสังคมเมือง
    บ้านแม่ลาน้อย จ. แม่ฮ่องสอน
    ภาพโดย อาทิตย์ ทองดุศรี
  •   เกาะหลีเป๊ะ จ. สตูล

    แผนที่ในเกาะหลีเป๊ะ 
    ถิ่นเดิมของชาวเลที่ ณ วันนี้
    ถูกโอบล้อมด้วยรีสอร์ทการท่องเที่ยว
  •   ตะวันรุ่งที่ไล่โว่ จ. กาญจนบุรี

    ไล่โว่ หรือที่แปลเป็นภาษาไทยว่า ผาหินแดง เป็นชุมชนคนโผล่งที่แวดล้อมด้วยขุนเขาและผืนป่า 
    อาณาเขตของตำบลไล่โว่เป็นส่วนหนึ่งของป่าทุ่งใหญ่นเรศวรแถบอำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี 

    ภาพโดย ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ
  •   การแข่งขันยิงหน้าไม้ของอาข่า

    การแข่งขันยิงหน้าไม้ในเทศกาลโล้ชิงช้าของอาข่า ในวันที่ 13 กันยายน 2554 ที่บ้านสามแยกอีก้อ อ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย
 
  Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre
Ethnic Groups Research Database
1374 results found. Sorted by date | title

  Author Title Source Year
1001. ธีรวัฒน์ แก้วแดง การช่วงชิงการให้ความหมายพิธีกรรมและความเชื่อ ปู่เยอ ย่าเยอ เมืองหลวงพระบาง สปป.ลาว หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2545
1002. ภูธร ภูมะธน (บรรณาธิการ) มรดกวัฒนธรรมไทยเบิ้งลุ่มแม่น้ำป่าสักในเขตที่ได้รับผลกระทบจากการสร้างเขื่อนป่าสัก ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม สถาบันราชภัฏเทพสตรี จังหวัดลพบุรี 2541
1003. Phanuthat Yodkaew The Impact of Trans-State Ethnic Mon Nationalism upon Thailand รัฐศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ 2539
1004. ดารุณี บุญธรรม, เลาท้าว แซ่โซ้ง, สมศักดิ์ พานผ่องเจริญ, วัลยา แซ่ย่าง, เลาเน้ง พานผ่องเจริญ, อัชภรณ์ ขันโท การจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศและวัฒนธรรมโดยชุมชนชาวม้ง บ้านน้ำคะ-สานก๋วย ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง จังหวัดพะเยา รายงานการวิจัยสนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) 2546
1005. ปณิธิ อมาตยกุล การย้ายถิ่นของชาวไทยใหญ่เข้ามาในจังหวัดเชียงใหม่ หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภูมิภาคศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2547
1006. อุไร เดชพลกรัง พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของแม่บ้านกะเหรี่ยงสะกอ กรณีศึกษาแม่บ้านชาวกะเหรี่ยงสะกอ หมู่บ้านแม่ซา ตำบลแม่นาจร อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ สำนักบัณฑิตอาสาสมัคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2544
1007. สุรัตน์ วรางค์รัตน์ การศึกษาเชิงเปรียบเทียบประเพณีวัฒนธรรมของชาวผู้ไทย-ชาวโซ่ (ศึกษาเฉพาะกรณี อำเภอพรรณานิคมและอำเภอกุสุมาลย์ จังหวัดสกลนคร) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ วิทยาลัยครูสกลนคร 2524
1008. เสมอชัย พูลสุวรรณ ลาวโซ่งกับคริสต์ศาสนา สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2544
1009. อรุณรัตน์ วิเชียรเขียว Ethnic Groups in Chiangmai Inter - Ethnic Relations in the Making of Mainland southeast Asia.Vol.1, Compiled by Hayashi, Yukio, pp. 40 – 75, Center for Southeast Asian Studies Kyoto University. 2541
1010. นิมิต นพรัตน์ การพัฒนาศักยภาพของวัดในการสร้างระบบสวัสดิการแก่ผู้ด้อยโอกาส: กรณีศึกษา วัดป่าเป้า ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ รายงานการวิจัยย่อย ชุดโครงการ การพัฒนาระบบสวัสดิการสำหรับคนจนและคนด้อยโอกาสในสังคมไทย สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย 2545
1011. นฤมล อรุโณทัย, พลาเดช ณ ป้อมเพชร, จีระวรรณ์ บรรเทาทุกข์ อาชีพเสริมและอาชีพทางเลือกของชาวอูรักลาโว้ยในจังหวัดภูเก็ต สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550
1012. อัจลา เทียมสระคู ประเพณีการแต่งงานของชาวไทยญ้อ ศึกษาเฉพาะกรณีบ้านแซงบาดาล ตำบลแซงบาดาล อำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม 2536
1013. วิษณุ กอปรสิริพัฒน์ ภูมิปัญญาอีสานในพิธีกรรมด้านความเชื่อเพื่อการรักษาพยาบาลผ่านทางภาษาของชาวผู้ไท สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ 2541
1014. งามพิศ สัตย์สงวน สถาบันครอบครัวของกลุ่มชาติพันธุ์ในกรุงเทพมหานคร กรณีศึกษาครอบครัวญวน คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545
1015. Yuji Baba Being Lue, and not Being Lue Inter - Ethnic Relations in the Making of Mainland southeast Asia.Vol.1, Compiled by Hayashi, Yukio, pp. 76 - 94, Center for Southeast Asian Studies Kyoto University. 2541
1016. สารภี ศิลา, บุญชนะ ทองแสน, อิฐศักดิ์ ศรีสุโข การแพร่ระบาดของยาเสพติดที่ไม่ใช่ฝิ่นในชุมชนชาวเขากรณีศึกษา: การใช้สารเสพติดประเภทยาม้าในชุมชนกะเหรี่ยงเขตพื้นที่แม่สวรรค์น้อย ตำบลแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน สถาบันวิจัยชาวเขา กรมประชาสงเคราะห์ กระทรวงมหาดไทย ได้รับทุนสนับสนุนจากโครงการพัฒนาเขตพื้นที่สูงไทย-ออสเตรเลีย 2534
1017. วิภาดา อินทรพาณิชย์ บทบาทเครือญาติของชาวผู้ไทบ้านธาตุ อำเภอวาริชภูมิ จังหวัดสกลนคร หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาไทยคดีศึกษา (เน้นมนุษยศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2542
1018. สนิท วงศ์ประเสริฐ ประสบการณ์ในการพัฒนา ศึกษาเฉพาะกรณีการเสพฝิ่นของชาวเขาเผ่ามูเซอ สถาบันวิจัยชาวเขา กรมประชาสงเคราะห์ กระทรวงมหาดไทย 2530
1019. ฐนันดร์ศักดิ์ เวียงสารวิน “จู่ต่าเอาะ” : ความเชื่อเกี่ยวกับอาหารและพฤติกรรมการบริโภคของชาวกะเหรี่ยง: ศึกษากรณีชุมชนบ้านกล้วย อ.ด่านช้าง จ.สุพรรณบุรี หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชามานุษยวิทยา ภาควิชามานุษยวิทยา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร 2533
1020. อรศิริ ปาณินท์ การศึกษาหมู่บ้าน บ้าน และเทคโนโลยีการก่อสร้างของหมู่บ้านจีนฮ่อ จังหวัดแม่ฮ่องสอน สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร 2540

 

ฐานข้อมูลอื่นๆของศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
  ฐานข้อมูลพิพิธภัณฑ์ในประเทศไทย
จารึกในประเทศไทย
จดหมายเหตุทางมานุษยวิทยา
แหล่งโบราณคดีที่สำคัญในประเทศไทย
หนังสือเก่าชาวสยาม
ข่าวมานุษยวิทยา
ICH Learning Resources
ฐานข้อมูลเอกสารโบราณภูมิภาคตะวันตกในประเทศไทย
ฐานข้อมูลประเพณีท้องถิ่นในประเทศไทย
ฐานข้อมูลสังคม - วัฒนธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เมนูหลักภายในเว็บไซต์
  หน้าหลัก
งานวิจัยชาติพันธุ์ในประเทศไทย
บทความชาติพันธุ์
ข่าวชาติพันธุ์
เครือข่ายชาติพันธุ์
เกี่ยวกับเรา
เมนูหลักภายในเว็บไซต์
  ข้อมูลโครงการ
ทีมงาน
ติดต่อเรา
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
ช่วยเหลือ
  กฏกติกาและมารยาท
แบบสอบถาม
คำถามที่พบบ่อย


ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) เลขที่ 20 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 10170 
Tel. +66 2 8809429 | Fax. +66 2 8809332 | E-mail. webmaster@sac.or.th 
สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2549    |   เงื่อนไขและข้อตกลง