สมัครสมาชิก   
| |
ค้นหาข้อมูล
ค้นหาแบบละเอียด
  •   ความเป็นมาและหลักเหตุผล

    เพื่อรวบรวมงานวิจัยทางชาติพันธุ์ที่มีคุณภาพมาสกัดสาระสำคัญในเชิงมานุษยวิทยาและเผยแผ่สาระงานวิจัยแก่นักวิชาการ นักศึกษานักเรียนและผู้สนใจให้เข้าถึงงานวิจัยทางชาติพันธุ์ได้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น

  •   ฐานข้อมูลจำแนกกลุ่มชาติพันธุ์ตามชื่อเรียกที่คนในใช้เรียกตนเอง ด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้ คือ

    1. ชื่อเรียกที่ “คนอื่น” ใช้มักเป็นชื่อที่มีนัยในทางเหยียดหยาม ทำให้สมาชิกกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ รู้สึกไม่ดี อยากจะใช้ชื่อที่เรียกตนเองมากกว่า ซึ่งคณะทำงานมองว่าน่าจะเป็น “สิทธิพื้นฐาน” ของการเป็นมนุษย์

    2. ชื่อเรียกชาติพันธุ์ของตนเองมีความชัดเจนว่าหมายถึงใคร มีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมอย่างไร และตั้งถิ่นฐานอยู่แห่งใดมากกว่าชื่อที่คนอื่นเรียก ซึ่งมักจะมีความหมายเลื่อนลอย ไม่แน่ชัดว่าหมายถึงใคร 

     

    ภาพ-เยาวชนปกาเกอะญอ บ้านมอวาคี จ.เชียงใหม่

  •  

    จากการรวบรวมงานวิจัยในฐานข้อมูลและหลักการจำแนกชื่อเรียกชาติพันธุ์ที่คนในใช้เรียกตนเอง พบว่า ประเทศไทยมีกลุ่มชาติพันธุ์มากกว่า 62 กลุ่ม


    ภาพ-สุภาษิตปกาเกอะญอ
  •   การจำแนกกลุ่มชนมีลักษณะพิเศษกว่าการจำแนกสรรพสิ่งอื่นๆ

    เพราะกลุ่มชนต่างๆ มีความรู้สึกนึกคิดและภาษาที่จะแสดงออกมาได้ว่า “คิดหรือรู้สึกว่าตัวเองเป็นใคร” ซึ่งการจำแนกตนเองนี้ อาจแตกต่างไปจากที่คนนอกจำแนกให้ ในการศึกษาเรื่องนี้นักมานุษยวิทยาจึงต้องเพิ่มมุมมองเรื่องจิตสำนึกและชื่อเรียกตัวเองของคนในกลุ่มชาติพันธุ์ 

    ภาพ-สลากย้อม งานบุญของยอง จ.ลำพูน
  •   มโนทัศน์ความหมายกลุ่มชาติพันธุ์มีการเปลี่ยนแปลงในช่วงเวลาต่างๆ กัน

    ในช่วงทศวรรษของ 2490-2510 ในสาขาวิชามานุษยวิทยา “กลุ่มชาติพันธุ์” คือ กลุ่มชนที่มีวัฒนธรรมเฉพาะแตกต่างจากกลุ่มชนอื่นๆ ซึ่งมักจะเป็นการกำหนดในเชิงวัตถุวิสัย โดยนักมานุษยวิทยาซึ่งสนใจในเรื่องมนุษย์และวัฒนธรรม

    แต่ความหมายของ “กลุ่มชาติพันธุ์” ในช่วงหลังทศวรรษ 
    2510 ได้เน้นไปที่จิตสำนึกในการจำแนกชาติพันธุ์บนพื้นฐานของความแตกต่างทางวัฒนธรรมโดยตัวสมาชิกชาติพันธุ์แต่ละกลุ่มเป็นสำคัญ... (อ่านเพิ่มใน เกี่ยวกับโครงการ/คู่มือการใช้)


    ภาพ-หาดราไวย์ จ.ภูเก็ต บ้านของอูรักลาโว้ย
  •   สนุก

    วิชาคอมพิวเตอร์ของนักเรียน
    ปกาเกอะญอ  อ. แม่ลาน้อย
    จ. แม่ฮ่องสอน


    ภาพโดย อาทิตย์    ทองดุศรี

  •   ข้าวไร่

    ผลิตผลจากไร่หมุนเวียน
    ของชาวโผล่ว (กะเหรี่ยงโปว์)   
    ต. ไล่โว่    อ.สังขละบุรี  
    จ. กาญจนบุรี

  •   ด้าย

    แม่บ้านปกาเกอะญอ
    เตรียมด้ายทอผ้า
    หินลาดใน  จ. เชียงราย

    ภาพโดย เพ็ญรุ่ง สุริยกานต์
  •   ถั่วเน่า

    อาหารและเครื่องปรุงหลัก
    ของคนไต(ไทใหญ่)
    จ.แม่ฮ่องสอน

     ภาพโดย เพ็ญรุ่ง สุริยกานต์
  •   ผู้หญิง

    โผล่ว(กะเหรี่ยงโปว์)
    บ้านไล่โว่ 
    อ.สังขละบุรี
    จ. กาญจนบุรี

    ภาพโดย ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ
  •   บุญ

    ประเพณีบุญข้าวใหม่
    ชาวโผล่ว    ต. ไล่โว่
    อ.สังขละบุรี  จ.กาญจนบุรี

    ภาพโดยศรยุทธ  เอี่ยมเอื้อยุทธ

  •   ปอยส่างลอง แม่ฮ่องสอน

    บรรพชาสามเณร
    งานบุญยิ่งใหญ่ของคนไต
    จ.แม่ฮ่องสอน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ปอยส่างลอง

    บรรพชาสามเณร
    งานบุญยิ่งใหญ่ของคนไต
    จ.แม่ฮ่องสอน

    ภาพโดย เบญจพล  วรรณถนอม
  •   อลอง

    จากพุทธประวัติ เจ้าชายสิทธัตถะ
    ทรงละทิ้งทรัพย์ศฤงคารเข้าสู่
    ร่มกาสาวพัสตร์เพื่อแสวงหา
    มรรคผลนิพพาน


    ภาพโดย  ดอกรัก  พยัคศรี

  •   สามเณร

    จากส่างลองสู่สามเณร
    บวชเรียนพระธรรมภาคฤดูร้อน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   พระพาราละแข่ง วัดหัวเวียง จ. แม่ฮ่องสอน

    หล่อจำลองจาก “พระมหามุนี” 
    ณ เมืองมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า
    ชาวแม่ฮ่องสอนถือว่าเป็นพระพุทธรูป
    คู่บ้านคู่เมืององค์หนึ่ง

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม

  •   เมตตา

    จิตรกรรมพุทธประวัติศิลปะไต
    วัดจองคำ-จองกลาง
    จ. แม่ฮ่องสอน
  •   วัดจองคำ-จองกลาง จ. แม่ฮ่องสอน


    เสมือนสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรม
    เมืองไตแม่ฮ่องสอน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ใส

    ม้งวัยเยาว์ ณ บ้านกิ่วกาญจน์
    ต. ริมโขง อ. เชียงของ
    จ. เชียงราย
  •   ยิ้ม

    แม้ชาวเลจะประสบปัญหาเรื่องที่อยู่อาศัย
    พื้นที่ทำประมง  แต่ด้วยความหวัง....
    ทำให้วันนี้ยังยิ้มได้

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ผสมผสาน

    อาภรณ์ผสานผสมระหว่างผ้าทอปกาเกอญอกับเสื้อยืดจากสังคมเมือง
    บ้านแม่ลาน้อย จ. แม่ฮ่องสอน
    ภาพโดย อาทิตย์ ทองดุศรี
  •   เกาะหลีเป๊ะ จ. สตูล

    แผนที่ในเกาะหลีเป๊ะ 
    ถิ่นเดิมของชาวเลที่ ณ วันนี้
    ถูกโอบล้อมด้วยรีสอร์ทการท่องเที่ยว
  •   ตะวันรุ่งที่ไล่โว่ จ. กาญจนบุรี

    ไล่โว่ หรือที่แปลเป็นภาษาไทยว่า ผาหินแดง เป็นชุมชนคนโผล่งที่แวดล้อมด้วยขุนเขาและผืนป่า 
    อาณาเขตของตำบลไล่โว่เป็นส่วนหนึ่งของป่าทุ่งใหญ่นเรศวรแถบอำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี 

    ภาพโดย ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ
  •   การแข่งขันยิงหน้าไม้ของอาข่า

    การแข่งขันยิงหน้าไม้ในเทศกาลโล้ชิงช้าของอาข่า ในวันที่ 13 กันยายน 2554 ที่บ้านสามแยกอีก้อ อ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย
 
  Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre
Ethnic Groups Research Database
Sorted by date | title

   Record

 
Subject โพล่ง โผล่ง โพล่ว ซู (กะเหรี่ยง),การปรับเปลี่ยนการเกษตร,แม่ฮ่องสอน
Author Samata, Runako
Title Agricultural Transformation and Highlander Choice: A Case Study of a Pwo Karen Community in Northwestern Thailand
Document Type บทความ Original Language of Text ภาษาอังกฤษ
Ethnic Identity โพล่ง โผล่ง โผล่ว ซู กะเหรี่ยง, Language and Linguistic Affiliations จีน-ทิเบต(Sino-Tibetan)
Location of
Documents
ห้องสมุดศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร Total Pages 22 Year 2546
Source Politics of the Commons : Articulating Development and Strengthening Local Partice
Abstract

มีเนื้อหาครอบคลุมปัญหาเศรษฐกิจ ด้านหนี้สินทั้งกับรัฐบาล และนายทุน ที่กะเหรี่ยงได้กู้มา ปัญหาสิ่งแวดล้อม ของกะเหรี่ยงที่พยายามปรับเปลี่ยนวิถีการเกษตร โดยการใช้เทคโนโลยี และ สารเคมี

Focus

ผลกระทบที่เกิดจากการพัฒนาการเกษตร และพื้นที่สำหรับการเกษตรกรรมที่ถูกจำกัด (หน้าที่ 1)

Theoretical Issues

ผู้เขียนใช้ทฤษฎี "Neo - Malthusian Theory" กล่าวถึง การเพิ่มจำนวนประชากรมีผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ และผู้เขียนก็ยังได้นำแนวคิดของนักวิเคราะห์หลายท่าน ที่ให้ใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของกะเหรี่ยง

Ethnic Group in the Focus

เป็นกะเหรี่ยง เผ่าโปว์ (Pwo) ใน 2 หมู่บ้าน คือกะเหรี่ยงบ้านตองเหลือง และ กะเหรี่ยงบ้านแม่ช้าง ที่อาศัยอยู่ที่ ตำบลแม่โฮะ อำเภอ แม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน (หน้า1)

Language and Linguistic Affiliations

ไม่มีข้อมูล

Study Period (Data Collection)

ช่วงการศึกษาวิจัยประมาณ 1 ปี ตั้งแต่ เดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2002 (พ.ศ.2546) มกราคม ค.ศ.2003 (พ.ศ. 2546)

History of the Group and Community

กะเหรี่ยงเผ่าโปว์ อ.แม่สะเรียง จ. แม่ฮ่องสอน มี 6 หมู่บ้าน ที่ทำวิจัยมี 2 หมู่บ้าน คือ บ้านแม่ช้าง ซึ่งได้ตั้งถิ่นฐานในประเทศไทยมากกว่า 200-250 ปี (จากการสอบถาม) และบ้านตองเหลืองตั้งถิ่นฐานประมาณ 100 ปีที่แล้ว ย้ายมาจากบ้านแม่ช้าง (หน้า 1-2) ก่อนหน้านี้กะเหรี่ยงเผ่าโปว์ในแม่โฮะปลูกกะหล่ำปลีให้พวกม้งผู้ซึ่งเช่าที่ดินของกะเหรี่ยง ทำให้กะเหรี่ยงก็ได้เรียนรู้เรื่องการปลูกกะหล่ำปลี โดยปกติแล้ว การปลูกกะหล่ำปลีของกะเหรี่ยงนั้น จะปลูกตามที่สูง ทำให้ดินเสื่อม และเกิดมลภาวะทางน้ำจากการใช้ปุ๋ยเคมี เพราะต้องการเพิ่มผลผลิต (หน้า 2-3)

Settlement Pattern

ผู้เขียนไม่ระบุชัดเจน แต่สามารถดูได้จากแผนที่ได้สรุปว่าบ้านของกะเหรี่ยงจะปลูกติดเส้นทางคมนาคม ไม่ปลูกตั้งบ้านเรือนเป็นกลุ่ม (หน้า 19)

Demography

มีการสำรวจในเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม ค.ศ. 2002 (พ.ศ.2545) ประชากรบ้านแม่ช้าง มี 245 คน จาก 54 ครอบครัว และบ้านตองเหลืองสำรวจในเดือนมกราคม ค.ศ. 2003 (พ.ศ. 2546) จำนวนประชากรราว 505 คน จาก 125 ครอบครัว (หน้า 2)

Economy

กะเหรี่ยงได้นำการชลประทานมาใช้ในการปลูกข้าวและกะหล่ำปลีในที่ดินที่แตกต่างกัน กะเหรี่ยงเผ่าโปว์บ้านแม่ช้างทำไร่เลื่อนลอยมาเป็นเวลานาน ส่วนกะเหรี่ยงเผ่าโปว์บ้านตองเหลืองนำวิธีการปลูกข้าวผสมกะหล่ำปลีของกะเหรี่ยงเผ่าโปว์บ้านแม่ช้างมาใช้ และก็ได้นำปุ๋ยเคมีเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร แต่การใช้ปุ๋ยเคมีก็มีแต่เกษตรกรที่รวยกว่าที่สามารถซื้อได้ แต่เพื่อให้ได้ผลผลิตที่ดี เกษตรกรที่จนจำต้องเป็นหนี้ เพื่อซื้อปุ๋ยเคมี เมื่อใช้ไปนานๆ เข้า ก็ทำให้ดินเสื่อม ที่ดินเพาะปลูกไม่ได้ ทำให้กะเหรี่ยงบางส่วนต้องทำอาชีพผิดกฎหมาย แต่ในปี ค.ศ.2002 (พ.ศ. 2545) ได้มีกองทุนหมู่บ้านเพื่อช่วยเหลือกะเหรี่ยงที่ไม่มีทุนทำการเกษตร (หน้า 4-5)

Social Organization

เกิดจากความไม่เท่าเทียมกันในสภาพเศรษฐกิจ กะเหรี่ยงที่เป็นชาวนาบางคนก็รวยจากการปลูกกะหล่ำปลี จนเป็นเจ้าของที่ดินขนาดใหญ่ รถยนต์ รถจักรยานยนต์ และปศุสัตว์ ในขณะเดียวกัน ชาวนากะเหรี่ยงที่จนกว่าเพราะไม่ประสบความสำเร็จจากการเพาะปลูกกะหล่ำปลีก็มีหนี้สิน เพราะเงินที่กู้มาซื้อสารเคมีและปุ๋ย (หน้า 9-10) กะเหรี่ยงที่รวยบางคนได้แอบโกงที่ดินที่บ้านตองเหลือง พวกเขาสูญเสียที่ดินขนาดใหญ่ ในการสำรวจนี้ได้มีการกำหนดราคาแลกเปลี่ยน การค้าที่ดิน ลักษณะนี้เคยเกิดที่ จังหวัดอุทัยธานีมาแล้ว (หน้า 6)

Political Organization

ไม่มีข้อมูล

Belief System

ไม่มีข้อมูล

Education and Socialization

ไม่มีข้อมูล

Health and Medicine

ไม่มีข้อมูล

Art and Crafts (including Clothing Costume)

ไม่มีข้อมูล

Folklore

ไม่มีข้อมูล

Ethnicity (Ethnic Identity, Boundaries and Ethnic Relation)

ไม่มีข้อมูล

Social Cultural and Identity Change

สังคมของกะเหรี่ยงมีการเกษตรเพื่อยังชีพ แต่ต้องมาเปลี่ยนเป็นเพื่อการค้า เปลี่ยนจากการทำไร่เลื่อนลอยที่พวกกะเหรี่ยงทำกันมานานและทำให้ดินเสื่อม มาเป็นการปลูกพืชหมุนเวียน และในช่วง 10 ปี คือ ค.ศ. 1980 (พ.ศ.2523) กะเหรี่ยงได้ หันมาปลูกกะหล่ำปลีแทนม้งที่ไม่นิยมการปลูกกะหล่ำปลี (หน้า 3)

Critic Issues

ไม่มีข้อมูล

Other Issues

สังคมของกะเหรี่ยงมีการเกษตรเพื่อยังชีพ แต่ต้องมาเปลี่ยนเป็นเพื่อการค้า เปลี่ยนจากการทำไร่เลื่อนลอยที่พวกกะเหรี่ยงทำกันมานานและทำให้ดินเสื่อม มาเป็นการปลูกพืชหมุนเวียน และในช่วง 10 ปี คือ ค.ศ. 1980 (พ.ศ.2523) กะเหรี่ยงได้ หันมาปลูกกะหล่ำปลีแทนม้งที่ไม่นิยมการปลูกกะหล่ำปลี (หน้า 3)

Map/Illustration

Map 1. Location of the Villages for the Study Map 2. Residential Area of the Village: Ban Mae Chang (The Major Part) Map 3. Residential Area of the Village: Ban Mae Chang Bon (The Satellite Part)

Text Analyst กฤษฎาภรณ์ อินทรวิเชียร Date of Report 19 เม.ย 2564
TAG โพล่ง โผล่ง โพล่ว ซู (กะเหรี่ยง), การปรับเปลี่ยนการเกษตร, แม่ฮ่องสอน, Translator -
 
 

 

ฐานข้อมูลอื่นๆของศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
  ฐานข้อมูลพิพิธภัณฑ์ในประเทศไทย
จารึกในประเทศไทย
จดหมายเหตุทางมานุษยวิทยา
แหล่งโบราณคดีที่สำคัญในประเทศไทย
หนังสือเก่าชาวสยาม
ข่าวมานุษยวิทยา
ICH Learning Resources
ฐานข้อมูลเอกสารโบราณภูมิภาคตะวันตกในประเทศไทย
ฐานข้อมูลประเพณีท้องถิ่นในประเทศไทย
ฐานข้อมูลสังคม - วัฒนธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เมนูหลักภายในเว็บไซต์
  หน้าหลัก
งานวิจัยชาติพันธุ์ในประเทศไทย
บทความชาติพันธุ์
ข่าวชาติพันธุ์
เครือข่ายชาติพันธุ์
เกี่ยวกับเรา
เมนูหลักภายในเว็บไซต์
  ข้อมูลโครงการ
ทีมงาน
ติดต่อเรา
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
ช่วยเหลือ
  กฏกติกาและมารยาท
แบบสอบถาม
คำถามที่พบบ่อย


ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) เลขที่ 20 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 10170 
Tel. +66 2 8809429 | Fax. +66 2 8809332 | E-mail. webmaster@sac.or.th 
สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2549    |   เงื่อนไขและข้อตกลง